ล่อ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ล่อ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lɔ̂ɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | lo | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lɔː˥˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]เทียบภาษาจีนยุคกลาง 騾 (MC lwa); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ລໍ (ลํ) หรือ ລວາ (ลวา), ภาษาไทลื้อ ᦜᦸᧉ (หฺล้อ̂), ภาษาไทใหญ่ လေႃႈ (ล้อ̂)
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ฬ่อ
คำนาม
[แก้ไข]ล่อ (คำลักษณนาม ตัว)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ล่อ (คำอาการนาม การล่อ)
- ใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นอุบายชักนำ
- เอาน้ำตาลล่อมด
- เอาเหยื่อล่อปลา
- ปริ่ม, ใกล้จะไหล, ในคำว่า น้ำตาล่อหน่วย
- (ภาษาปาก, สแลง) กิน, กลืน
- กินเกี๊ยว แก้ปีชง..ล่อเกี๊ยว 20 จาน
- (ภาษาปาก, สแลง) ร่วมประเวณี
- ครูXแอบล่อกับนักเรียนมัธยม
- (ภาษาปาก, สแลง) ทะเลาะ, วิวาท
- พลังประชา “ป๊อก” หวังสอยเก้าอี้ “มท.1” ล่อกันเละ - อยู่กันยาก
- (ภาษาปาก, สแลง) ชกต่อย, ต่อสู้
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ล่อ