[go: nahoru, domu]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชตสึรุ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Minhnguyenhuyen (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[image:Gyosyou2830.JPG|200px|thumb|"อากิตะโชตสึรุ" ผลิตจากปลาฮาตะฮาตะ ส่วนขวดด้านขวาคือ ''อิชิรุ'' ผลิตจาก[[ปลาซาร์ดีน]]]]
[[image:Gyosyou2830.JPG|200px|thumb|"อากิตะชตสึรุ" ผลิตจากปลาฮาตาฮาตะ ส่วนขวดด้านขวาคือ ''อิชิรุ'' ผลิตจาก[[ปลาซาร์ดีน]]]]
'''โชตสึรุ''' ({{lang-ja|塩魚汁}}) เป็นน้ำปลาท้องถิ่นของ[[ญี่ปุ่น]]ที่มีกลิ่นฉุนคล้ายกับ[[น้ำปลา]]ของไทย น้ำปลาแท้ทำมาจากปลาที่เรียกว่า ''ฮาตะฮาตะ'' (''Arctoscopus japonicus'') โดยน้ำปลาชนิดนี้นิยมผลิตใน[[จังหวัดอากิตะ]]
'''ชตสึรุ''' ({{lang-ja|塩魚汁}}) เป็นน้ำปลาท้องถิ่นของ[[ญี่ปุ่น]]ที่มีกลิ่นฉุนคล้ายกับ[[น้ำปลา]]ของไทย น้ำปลาแท้ทำมาจากปลาที่เรียกว่า ''ฮาตาฮาตะ'' (''Arctoscopus japonicus'') โดยน้ำปลาชนิดนี้นิยมผลิตใน[[จังหวัดอากิตะ]]



== ในวรรณคดี ==
== ในวรรณคดี ==
มีข้อสันนิษฐานที่เชื่อว่า โชตสึรุคือน้ำปลาญี่ปุ่นที่ปรากฏอยู่ใน ''[[กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน]]'' พระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] รัชกาลที่ 2 ความว่า
มีข้อสันนิษฐานที่เชื่อว่า ชตสึรุคือน้ำปลาญี่ปุ่นที่ปรากฏอยู่ใน ''[[กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน]]'' พระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] รัชกาลที่ 2 ความว่า


{{กาพย์ยานี|indent=1|ยำใหญ่ใส่สารพัด|วางจานจัดหลายเหลือตรา|รสดีด้วยน้ำปลา|ญี่ปุ่นล้ำย้ำยวนใจ}}
{{กาพย์ยานี|indent=1|ยำใหญ่ใส่สารพัด|วางจานจัดหลายเหลือตรา|รสดีด้วยน้ำปลา|ญี่ปุ่นล้ำย้ำยวนใจ}}


ในบทประพันธ์กล่าวถึง "น้ำปลาญี่ปุ่น" จากข้อมูลงานวิจัย "กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่นิราศแรมรสร้าง" โดย ศาสตราจารย์ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต ว่า [[น้ำปลา]]ญี่ปุ่นดังกล่าวนั้นเป็นน้ำปลาที่น่าจะเข้ามากับเรือสินค้าที่เดินทางมายังกรุงเทพ น้ำปลาญี่ปุ่นนั้นมีรสชาติที่ไม่เค็มเท่ากับน้ำปลาไทย แต่อย่างไรก็ตามน้ำปลาญี่ปุ่นในที่นี้ก็ไม่น่าจะใช่ซอส[[โชยุ]]<ref>{{cite web |author1=พิชามญชุ์ ชัยดรุณ |title=Royal Cuisine: “ยำใหญ่” กับน้ำปลาญี่ปุ่นในสำรับไทย |url=https://www.chiangmaicitylife.com/spoonandfork/spoon-and-fork-magazine/royal-cuisine-%E0%B8%A2%E0%B8%B3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88/ |publisher=chiangmaicitylife}}</ref> ในตำรา ''[[แม่ครัวหัวป่าก์]]'' ของท่านผู้หญิง[[เปลี่ยน ภาสกรวงศ์]] ก็เจาะจงใช้น้ำปลาญี่ปุ่นปรุงรสเค็ม<ref>{{cite web |title=แม่ครัวหัวป่าก์ |url=https://vajirayana.org/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%8C/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%97-%E0%B9%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%99 |publisher=วัชรญาณ}}</ref>
ในบทประพันธ์กล่าวถึง "น้ำปลาญี่ปุ่น" จากข้อมูลงานวิจัย "กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่นิราศแรมรสร้าง" โดยศาสตราจารย์ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต ว่า [[น้ำปลา]]ญี่ปุ่นดังกล่าวนั้นเป็นน้ำปลาที่น่าจะเข้ามากับเรือสินค้าที่เดินทางมายังกรุงเทพ น้ำปลาญี่ปุ่นนั้นมีรสชาติที่ไม่เค็มเท่ากับน้ำปลาไทย แต่อย่างไรก็ตามน้ำปลาญี่ปุ่นในที่นี้ก็ไม่น่าจะใช่ซอส[[โชยุ]]<ref>{{cite web |author1=พิชามญชุ์ ชัยดรุณ |title=Royal Cuisine: “ยำใหญ่” กับน้ำปลาญี่ปุ่นในสำรับไทย |url=https://www.chiangmaicitylife.com/spoonandfork/spoon-and-fork-magazine/royal-cuisine-%E0%B8%A2%E0%B8%B3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88/ |publisher=chiangmaicitylife}}</ref> ในตำรา ''[[แม่ครัวหัวป่าก์]]'' ของท่านผู้หญิง[[เปลี่ยน ภาสกรวงศ์]] ก็เจาะจงใช้น้ำปลาญี่ปุ่นปรุงรสเค็ม<ref>{{cite web |title=แม่ครัวหัวป่าก์ |url=https://vajirayana.org/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%8C/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%97-%E0%B9%94-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%99 |publisher=วัชรญาณ}}</ref>


ในปัจจุบันได้ใช้น้ำปลาไทยแทน ทั้งยังหาข้อสรุปไม่ได้ว่าน้ำปลาญี่ปุ่นที่ปรากฏในสำรับอาหารไทยตำรับในรั้วในวังนั้นใช่น้ำปลาญี่ปุ่นจริงหรือไม่<ref>{{cite web |author1=สุริวัสสา กล่อมเดช |title=‘น้ำปลาญี่ปุ่นล้ำย้ำยวนใจ’ ญี่ปุ่นมีน้ำปลาด้วยเหรอ? |url=https://krua.co/food_story/japanese-fish-sauce/}}</ref> กฤช เหลือลมัย สันนิษฐานว่าน้ำปลาสูตรพิเศษของญี่ปุ่นคือการนำไปหมักกับซีอิ๊วชั้นดี ส่วนศาสตราจารย์ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต สันนิษฐานได้ว่า เป็นน้ำปลาสูตรพิเศษที่นำไปหมักกับซีอิ๊วดี ๆ ก็ได้<ref>{{cite web |title=น้ำปลาญี่ปุ่นในวรรณคดีไทย ล้ำยวนใจ…ไม่ใช่โชยุ แต่คือ “น้ำปลาชั้นเลิศ” ของญี่ปุ่น |url=https://www.silpa-mag.com/culture/article_11258 |publisher=ศิลปวัฒนธรรม}}</ref>
ในปัจจุบันได้ใช้น้ำปลาไทยแทน ทั้งยังหาข้อสรุปไม่ได้ว่าน้ำปลาญี่ปุ่นที่ปรากฏในสำรับอาหารไทยตำรับในรั้วในวังนั้นใช่น้ำปลาญี่ปุ่นจริงหรือไม่<ref>{{cite web |author1=สุริวัสสา กล่อมเดช |title=‘น้ำปลาญี่ปุ่นล้ำย้ำยวนใจ’ ญี่ปุ่นมีน้ำปลาด้วยเหรอ? |url=https://krua.co/food_story/japanese-fish-sauce/}}</ref> กฤช เหลือลมัย สันนิษฐานว่าน้ำปลาสูตรพิเศษของญี่ปุ่นคือการนำไปหมักกับซีอิ๊วชั้นดี ส่วนศาสตราจารย์ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต สันนิษฐานได้ว่า เป็นน้ำปลาสูตรพิเศษที่นำไปหมักกับซีอิ๊วดี ๆ ก็ได้<ref>{{cite web |title=น้ำปลาญี่ปุ่นในวรรณคดีไทย ล้ำยวนใจ…ไม่ใช่โชยุ แต่คือ “น้ำปลาชั้นเลิศ” ของญี่ปุ่น |url=https://www.silpa-mag.com/culture/article_11258 |publisher=ศิลปวัฒนธรรม}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:55, 4 กรกฎาคม 2567

"อากิตะชตสึรุ" ผลิตจากปลาฮาตาฮาตะ ส่วนขวดด้านขวาคือ อิชิรุ ผลิตจากปลาซาร์ดีน

ชตสึรุ (ญี่ปุ่น: 塩魚汁) เป็นน้ำปลาท้องถิ่นของญี่ปุ่นที่มีกลิ่นฉุนคล้ายกับน้ำปลาของไทย น้ำปลาแท้ทำมาจากปลาที่เรียกว่า ฮาตาฮาตะ (Arctoscopus japonicus) โดยน้ำปลาชนิดนี้นิยมผลิตในจังหวัดอากิตะ

ในวรรณคดี

มีข้อสันนิษฐานที่เชื่อว่า ชตสึรุคือน้ำปลาญี่ปุ่นที่ปรากฏอยู่ใน กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ความว่า

ยำใหญ่ใส่สารพัด วางจานจัดหลายเหลือตรา
รสดีด้วยน้ำปลา ญี่ปุ่นล้ำย้ำยวนใจ

ในบทประพันธ์กล่าวถึง "น้ำปลาญี่ปุ่น" จากข้อมูลงานวิจัย "กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่นิราศแรมรสร้าง" โดยศาสตราจารย์ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต ว่า น้ำปลาญี่ปุ่นดังกล่าวนั้นเป็นน้ำปลาที่น่าจะเข้ามากับเรือสินค้าที่เดินทางมายังกรุงเทพ น้ำปลาญี่ปุ่นนั้นมีรสชาติที่ไม่เค็มเท่ากับน้ำปลาไทย แต่อย่างไรก็ตามน้ำปลาญี่ปุ่นในที่นี้ก็ไม่น่าจะใช่ซอสโชยุ[1] ในตำรา แม่ครัวหัวป่าก์ ของท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ก็เจาะจงใช้น้ำปลาญี่ปุ่นปรุงรสเค็ม[2]

ในปัจจุบันได้ใช้น้ำปลาไทยแทน ทั้งยังหาข้อสรุปไม่ได้ว่าน้ำปลาญี่ปุ่นที่ปรากฏในสำรับอาหารไทยตำรับในรั้วในวังนั้นใช่น้ำปลาญี่ปุ่นจริงหรือไม่[3] กฤช เหลือลมัย สันนิษฐานว่าน้ำปลาสูตรพิเศษของญี่ปุ่นคือการนำไปหมักกับซีอิ๊วชั้นดี ส่วนศาสตราจารย์ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต สันนิษฐานได้ว่า เป็นน้ำปลาสูตรพิเศษที่นำไปหมักกับซีอิ๊วดี ๆ ก็ได้[4]

อ้างอิง

  1. พิชามญชุ์ ชัยดรุณ. "Royal Cuisine: "ยำใหญ่" กับน้ำปลาญี่ปุ่นในสำรับไทย". chiangmaicitylife.
  2. "แม่ครัวหัวป่าก์". วัชรญาณ.
  3. สุริวัสสา กล่อมเดช. "'น้ำปลาญี่ปุ่นล้ำย้ำยวนใจ' ญี่ปุ่นมีน้ำปลาด้วยเหรอ?".
  4. "น้ำปลาญี่ปุ่นในวรรณคดีไทย ล้ำยวนใจ…ไม่ใช่โชยุ แต่คือ "น้ำปลาชั้นเลิศ" ของญี่ปุ่น". ศิลปวัฒนธรรม.