[go: nahoru, domu]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทินสุริยคติไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
Phakorn Chulachan (คุย | ส่วนร่วม)
 
(ไม่แสดง 30 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 16 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ปฏิทินสุริยคติไทย''' คือ[[ปฏิทิน]]อย่างเป็นทางการของ[[ประเทศไทย]]ในปัจจุบัน เป็นระบบ[[ปฏิทินสุริยคติ]]อ้างวันเดือนปีตรงตาม[[ปฏิทินกริกอเรียน]]ที่มีจำนวน[[วัน]] 365 หรือ 366 วันในแต่ละปี โดยปรับเปลี่ยนจาก[[ปฏิทินจันทรคติไทย]]เดิมเมื่อ [[พ.ศ. 2431]] (จุลศักราช 1240) ในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] ชื่อเดือนในภาษาไทยทั้งสิบสองในปฏิทินตั้งชื่อโดย[[กรมพระยาเทววงศ์วโรปการ]]
{{ปฏิทิน}}


== พุทธศักราช ==
'''ปฏิทินสุริยคติไทย''' คือ[[ปฏิทิน]]อย่างเป็นทางการของ[[ประเทศไทย]]ในปัจจุบัน เป็นระบบ[[ปฏิทินสุริยคติ]]อ้างวันเดือนปีตรงตาม[[ปฏิทินเกรกอเรียน]]ที่มีจำนวน[[วัน]] 365 หรือ 366 วันในแต่ละปี โดยปรับเปลี่ยนจาก[[ปฏิทินจันทรคติไทย]]เดิมเมื่อ [[พ.ศ. 2431]] (จุลศักราช 1240) ในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] ชื่อเดือนในภาษาไทยทั้งสิบสองในปฏิทินตั้งชื่อโดย[[กรมพระยาเทววงศ์วโรปการ]]
ประเทศไทยเริ่มใช้[[พุทธศักราช]]ในระบบราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2456 โดยนำปฏิทินสุริยคติมาใช้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/A/264.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ วิธีนับ วัน เดือน ปี] ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ก ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๕ หน้า ๒๖๔</ref>


ต้นยุคอ้างอิงของ[[ปีพุทธศักราช|พุทธศักราช]]แบบไทยจะช้ากว่าแบบอื่นไป 1 ปี โดยแบบไทยนับปีหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี พ.ศ. 1 คือเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 545 ปี ก่อน ค.ศ. (เทียบกับประเทศอื่นที่นับปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานเป็น พ.ศ. 1 คือเริ่มจากวันที่ 13 พฤษภาคม 544 ปี ก่อน ค.ศ. หรือขึ้น 15 ค่ำเดือนวิสาขะ อัญจนศก 148)<ref name=my-1-38>Kala Vol. 1 2006: 38</ref> ดังนั้น หากปฏิทินไทยเป็น พ.ศ. 2400 พ.ศ. แบบลังกาจะเป็น 2401
ใน[[ปฏิทินไทย]]จะมีการแสดงปีปฏิทินสุริยคติไทยเป็นหลักแสดงในรูปแบบ[[ปีพุทธศักราช]] และในหลายปฏิทินมักจะมีการแสดง[[วันพระ]] วันข้างขึ้น ข้างแรม ปีจีน และ[[คริสต์ศักราช]]คู่กัน


ในสมัยก่อน ปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินสุริยคติสากล นับเดือนที่เปลี่ยนศักราชไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ไทยจะเปลี่ยนศักราชในวันที่ 1 เมษายน ในขณะที่สากลจะเปลี่ยนในวันที่ 1 มกราคม ทำให้พุทธศักราชและ[[คริสต์ศักราช]]คาบเกี่ยวกัน โดยที่สามเดือนแรกในคริสต์ศักราช (มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) จะตรงกับพุทธศักราชก่อนหน้า เช่น ค.ศ. 1900 สามเดือนแรกจะตรงกับ พ.ศ. 2442 และเดือนอื่น ๆ จะตรงกับ พ.ศ. 2443
ใน[[ปฏิทินไทย]]ซึ่งใช้รูปแบบ[[ปีพุทธศักราช]]ในการนับศักราชนั้น ความจริงคือ[[ปีพุทธศักราช|พุทธศักราช]]แบบไทยจะน้อยกว่า[[ปีพุทธศักราช|พุทธศักราช]]แบบลังกา(นับปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานเป็น[[ปีพุทธศักราช|พุทธศักราช]] 1) อยู่ 1 ปี เช่น [[ปฏิทินไทย]]เป็น[[ปีพุทธศักราช|พุทธศักราช]] 2400 [[ปีพุทธศักราช|พุทธศักราช]]แบบลังกาจะเป็น 2401

== พุทธศักราช ==
ประเทศไทยเริ่มใช้[[พุทธศักราช]]ในระบบราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2456 โดยนำปฏิทินสุริยคติมาใช้<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/A/264.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ วิธีนับ วัน เดือน ปี] ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ก ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๕ หน้า ๒๖๔</ref>


{{สถานีย่อยวิกิซอร์ซ|เวลาในประเทศไทย}}
ในสมัยก่อน [[ปฏิทินสุริยคติไทย]]และปฏิทินสุริยคติสากล นับเดือนที่เปลี่ยนศักราชไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ไทยจะเปลี่ยนศักราชในวันที่ 1 เมษายน ในขณะที่สากลจะเปลี่ยนในวันที่ 1 มกราคม ทำให้พุทธศักราชและ[[คริสต์ศักราช]]คาบเกี่ยวกัน โดยที่สามเดือนแรกในคริสต์ศักราช (มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) จะตรงกับพุทธศักราชก่อนหน้า เช่น ค.ศ. 1900 สามเดือนแรกจะตรงกับ พ.ศ. 2442 และเดือนอื่น ๆ จะตรงกับ พ.ศ. 2443


ในสมัย[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ได้ประกาศเปลี่ยน[[วันขึ้นปีใหม่]]ไปเป็น 1 มกราคม ให้เทียบเท่ากับสากล โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2484 เป็นต้นไป จึงทำให้ พ.ศ. 2483 เหลือเพียงแค่ 9 เดือน (เมษายน - ธันวาคม) ดังแสดงในแผนภาพ
ในสมัย[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ได้ประกาศเปลี่ยน[[วันขึ้นปีใหม่]]ไปเป็น 1 มกราคม ให้เทียบเท่ากับสากล โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2484 เป็นต้นไป จึงทำให้ พ.ศ. 2483 เหลือเพียงแค่ 9 เดือน (เมษายน - ธันวาคม) ดังแสดงในแผนภาพ
บรรทัด 72: บรรทัด 70:
|}
|}


== รัตนโกสินทรศก ==
== รัตนโกสินทร์ศก ==
'''รัตนโกสินทรศก''' ตัวย่อ '''ร.ศ.''' ({{lang-en|Rattanakosin era}}) เป็น[[ศักราช]]ซึ่งมีจุดเริ่มยุคคือปีก่อตั้ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ[[จุลศักราช]] 1250<ref name="สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ">[https://web.archive.org/web/20080430075311/http://www.culture.go.th/knowledge/vid/newyear/04.htm ความรู้เรื่องศักราชที่ใช้ในหนังสือไทย] จากเว็บสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ</ref> (พ.ศ. 2324) และวันเริ่มต้นปีคือวันที่ 1 เมษายน ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงกำหนดให้เป็น[[วันขึ้นปีใหม่]]และประกาศใช้รัตนโกสินทรศกอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงเล็งเห็นประโยชน์และสะดวกในการใช้พุทธศักราชอ้างอิงประวัติศาสตร์ จึงได้มีการยกเลิกการใช้งานรัตนโกสินทรศกตามประกาศเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2455 โดยหนังสือราชการทั้งหมดได้เปลี่ยนมาใช้[[พุทธศักราช]]แทน<ref name="สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ" />
'''รัตนโกสินทรศก''' ตัวย่อ '''ร.ศ.''' ({{lang-en|Rattanakosin era}}) เป็น[[ศักราช]]ซึ่งมีจุดเริ่มยุคคือปีก่อตั้ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ[[จุลศักราช]] 1250<ref name="สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ">[https://web.archive.org/web/20080430075311/http://www.culture.go.th/knowledge/vid/newyear/04.htm ความรู้เรื่องศักราชที่ใช้ในหนังสือไทย] จากเว็บสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ</ref> (พ.ศ. 2324) และวันเริ่มต้นปีคือวันที่ 1 เมษายน ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงกำหนดให้เป็น[[วันขึ้นปีใหม่]]และประกาศใช้รัตนโกสินทรศกอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงเล็งเห็นประโยชน์และสะดวกในการใช้พุทธศักราชอ้างอิงประวัติศาสตร์ จึงได้มีการยกเลิกการใช้งานรัตนโกสินทรศกตามประกาศเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2455 โดยหนังสือราชการทั้งหมดได้เปลี่ยนมาใช้[[พุทธศักราช]]แทน<ref name="สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ" />


บรรทัด 78: บรรทัด 76:
[[ไฟล์:August2004rs.png|thumb|ตัวอย่างปฏิทินไทย เดือนสิงหาคม 2547]]
[[ไฟล์:August2004rs.png|thumb|ตัวอย่างปฏิทินไทย เดือนสิงหาคม 2547]]


ในปฏิทินสุริยคติไทยใช้จำนวนเดือน 12 เดือน ตามปฏิทินเกรกอเรียน โดยจำนวนวันในแต่ละเดือนได้อ้างอิงตามเช่นเดียวกันโดยในแต่ละเดือนจะมีจำนวนวันตั้งแต่ปี 28-31 วัน ชื่อเดือนทรงตั้งโดยกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ โดยทรงใช้ตำรา[[จักรราศี]] ซึ่งแสดง[[การโคจร]]ของ[[ดาวเคราะห์]]รอบ[[ดวงอาทิตย์]]ในหนึ่งปีตามวิชา[[โหราศาสตร์]] โดยทรงนำคำสองคำมา[[สนธิ]]กัน คำต้นเป็นชื่อ[[ราศี]]ที่ปรากฏในช่วงเวลานั้นรวมกับคำว่า "อาคม" หรือ "อายน" ที่หมายถึง "การมาถึง" โดยได้ระบุวันอย่างชัดเจนโดยคำว่า "คม" สำหรับเดือนที่มี 31 วัน และคำว่า "ยน" สำหรับเดือนที่มี 30 วัน ยกเว้นเดือนกุมภาพันธ์ที่มี 28 หรือ 29 วัน ถ้าเป็น[[ปีอธิกสุรทิน]]<ref>สุชาฎา ประพันธ์วงศ์. "กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ผู้ตั้งชื่อเดือนของไทย". หนังสือพิมพ์มติชน วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ปีที่ 29 ฉบับที่ 10205 <br>ข้อมูลออนไลน์สามารถดูได้ที่ [http://www4.eduzones.com/nuihappy/3396 เว็บไซต์ Eduzones]</ref>
ในปฏิทินสุริยคติไทยใช้จำนวนเดือน 12 เดือน ตามปฏิทินกริกอเรียน โดยจำนวนวันในแต่ละเดือนได้อ้างอิงตามเช่นเดียวกันโดยในแต่ละเดือนจะมีจำนวนวันตั้งแต่ปี 28-31 วัน ชื่อเดือนทรงตั้งโดยกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ โดยทรงใช้ตำรา[[จักรราศี]] ซึ่งแสดง[[การโคจร]]ของ[[ดาวเคราะห์]]รอบ[[ดวงอาทิตย์]]ในหนึ่งปีตามวิชา[[โหราศาสตร์]] โดยทรงนำคำสองคำมา[[สนธิ]]กัน คำต้นเป็นชื่อ[[ราศี]]ที่ปรากฏในช่วงเวลานั้นรวมกับคำว่า "อาคม" หรือ "อายน" ที่หมายถึง "การมาถึง" โดยได้ระบุวันอย่างชัดเจนโดยคำว่า "คม" สำหรับเดือนที่มี 31 วัน และคำว่า "ยน" สำหรับเดือนที่มี 30 วัน ยกเว้นเดือนกุมภาพันธ์ที่มี 28 หรือ 29 วัน ถ้าเป็น[[ปีอธิกสุรทิน]]<ref>สุชาฎา ประพันธ์วงศ์. "กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ผู้ตั้งชื่อเดือนของไทย". หนังสือพิมพ์มติชน วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ปีที่ 29 ฉบับที่ 10205 <br>ข้อมูลออนไลน์สามารถดูได้ที่ [http://www4.eduzones.com/nuihappy/3396 เว็บไซต์ Eduzones] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110721211212/http://www4.eduzones.com/nuihappy/3396 |date=2011-07-21 }}</ref>


{|class="wikitable"
{|class="wikitable"
บรรทัด 110: บรรทัด 108:


== วันในสัปดาห์ ==
== วันในสัปดาห์ ==
ในปฏิทินสุริยคติวันในสัปดาห์ตามปฏิทินเกรกอเรียนเช่นกันโดยในแต่ละ[[สัปดาห์]]จะประกอบไปด้วย 7 [[วัน]] ซึ่งเริ่มต้นสัปดาห์ด้วยวันอาทิตย์
ในปฏิทินสุริยคติวันในสัปดาห์ตามปฏิทินกริกอเรียนเช่นกันโดยในแต่ละ[[สัปดาห์]]จะประกอบไปด้วย 7 [[วัน]] ซึ่งเริ่มต้นสัปดาห์ด้วยวันอาทิตย์


{|class="wikitable"
{|class="wikitable"
บรรทัด 136: บรรทัด 134:


{{ปฏิทินไทย}}
{{ปฏิทินไทย}}
{{ปฏิทิน}}


[[หมวดหมู่:ปฏิทิน|สุริยคติไทย]]
[[หมวดหมู่:ปฏิทิน|สุริยคติไทย]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:27, 14 มิถุนายน 2567

ปฏิทินสุริยคติไทย คือปฏิทินอย่างเป็นทางการของประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นระบบปฏิทินสุริยคติอ้างวันเดือนปีตรงตามปฏิทินกริกอเรียนที่มีจำนวนวัน 365 หรือ 366 วันในแต่ละปี โดยปรับเปลี่ยนจากปฏิทินจันทรคติไทยเดิมเมื่อ พ.ศ. 2431 (จุลศักราช 1240) ในสมัยรัชกาลที่ 5 ชื่อเดือนในภาษาไทยทั้งสิบสองในปฏิทินตั้งชื่อโดยกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ

พุทธศักราช

[แก้]

ประเทศไทยเริ่มใช้พุทธศักราชในระบบราชการตั้งแต่ พ.ศ. 2456 โดยนำปฏิทินสุริยคติมาใช้[1]

ต้นยุคอ้างอิงของพุทธศักราชแบบไทยจะช้ากว่าแบบอื่นไป 1 ปี โดยแบบไทยนับปีหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี พ.ศ. 1 คือเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 545 ปี ก่อน ค.ศ. (เทียบกับประเทศอื่นที่นับปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานเป็น พ.ศ. 1 คือเริ่มจากวันที่ 13 พฤษภาคม 544 ปี ก่อน ค.ศ. หรือขึ้น 15 ค่ำเดือนวิสาขะ อัญจนศก 148)[2] ดังนั้น หากปฏิทินไทยเป็น พ.ศ. 2400 พ.ศ. แบบลังกาจะเป็น 2401

ในสมัยก่อน ปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินสุริยคติสากล นับเดือนที่เปลี่ยนศักราชไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ไทยจะเปลี่ยนศักราชในวันที่ 1 เมษายน ในขณะที่สากลจะเปลี่ยนในวันที่ 1 มกราคม ทำให้พุทธศักราชและคริสต์ศักราชคาบเกี่ยวกัน โดยที่สามเดือนแรกในคริสต์ศักราช (มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) จะตรงกับพุทธศักราชก่อนหน้า เช่น ค.ศ. 1900 สามเดือนแรกจะตรงกับ พ.ศ. 2442 และเดือนอื่น ๆ จะตรงกับ พ.ศ. 2443

ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ไปเป็น 1 มกราคม ให้เทียบเท่ากับสากล โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2484 เป็นต้นไป จึงทำให้ พ.ศ. 2483 เหลือเพียงแค่ 9 เดือน (เมษายน - ธันวาคม) ดังแสดงในแผนภาพ

เดือน ม.ค. ธ.ค. ม.ค. ธ.ค. ม.ค. ธ.ค. ม.ค. ธ.ค.
ลำดับเดือน 1 12 1 12 1 12 1 12
คริสต์ศักราช 1939 1940 1941 1942
พุทธศักราช 2481 2482 2483 2484 2485
ลำดับเดือนไทย 12 1 12 1 9 1 12 1 12
เดือนไทย มี.ค. เม.ย. มี.ค. เม.ย. ธ.ค. ม.ค. ธ.ค. ม.ค. ธ.ค.

รัตนโกสินทรศก

[แก้]

รัตนโกสินทรศก ตัวย่อ ร.ศ. (อังกฤษ: Rattanakosin era) เป็นศักราชซึ่งมีจุดเริ่มยุคคือปีก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อจุลศักราช 1250[3] (พ.ศ. 2324) และวันเริ่มต้นปีคือวันที่ 1 เมษายน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดให้เป็นวันขึ้นปีใหม่และประกาศใช้รัตนโกสินทรศกอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นประโยชน์และสะดวกในการใช้พุทธศักราชอ้างอิงประวัติศาสตร์ จึงได้มีการยกเลิกการใช้งานรัตนโกสินทรศกตามประกาศเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2455 โดยหนังสือราชการทั้งหมดได้เปลี่ยนมาใช้พุทธศักราชแทน[3]

เดือน

[แก้]
ตัวอย่างปฏิทินไทย เดือนสิงหาคม 2547

ในปฏิทินสุริยคติไทยใช้จำนวนเดือน 12 เดือน ตามปฏิทินกริกอเรียน โดยจำนวนวันในแต่ละเดือนได้อ้างอิงตามเช่นเดียวกันโดยในแต่ละเดือนจะมีจำนวนวันตั้งแต่ปี 28-31 วัน ชื่อเดือนทรงตั้งโดยกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ โดยทรงใช้ตำราจักรราศี ซึ่งแสดงการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ในหนึ่งปีตามวิชาโหราศาสตร์ โดยทรงนำคำสองคำมาสนธิกัน คำต้นเป็นชื่อราศีที่ปรากฏในช่วงเวลานั้นรวมกับคำว่า "อาคม" หรือ "อายน" ที่หมายถึง "การมาถึง" โดยได้ระบุวันอย่างชัดเจนโดยคำว่า "คม" สำหรับเดือนที่มี 31 วัน และคำว่า "ยน" สำหรับเดือนที่มี 30 วัน ยกเว้นเดือนกุมภาพันธ์ที่มี 28 หรือ 29 วัน ถ้าเป็นปีอธิกสุรทิน[4]

ชื่อไทย อักษรย่อ คำอ่าน รากศัพท์ ความหมาย
มกราคม ม.ค. มะ-กะ-รา-คม มกร + อาคม การมาถึงของราศีมกร
กุมภาพันธ์ ก.พ. กุม-พา-พัน กุมภ + อาพันธ์ การมาถึงของราศีกุมภ์
มีนาคม มี.ค. มี-นา-คม มีน + อาคม การมาถึงของราศีมีน
เมษายน เม.ย. เม-สา-ยน มษ + อายน การมาถึงของราศีเมษ
พฤษภาคม พ.ค. พฺรึด-สะ-พา-คม พฤษภ + อาคม การมาถึงของราศีพฤษภ
มิถุนายน มิ.ย. มิ-ถุ-นา-ยน มิถุน + อายน การมาถึงของราศีมิถุน
กรกฎาคม ก.ค. กะ-ระ-กะ-ดา-คม กรกฎ + อาคม การมาถึงของราศีกรกฎ
สิงหาคม ส.ค. สิง-หา-คม สิงห + อาคม การมาถึงของราศีสิงห์
กันยายน ก.ย. กัน-ยา-ยน กันย + อายน การมาถึงของราศีกันย์
ตุลาคม ต.ค. ตุ-ลา-คม ตุล + อาคม การมาถึงของราศีตุล
พฤศจิกายน พ.ย. พฺรึด-สะ-จิ-กา-ยน พฤศจิก + อายน การมาถึงของราศีพิจิก
ธันวาคม ธ.ค. ทัน-วา-คม ธนู + อาคม การมาถึงของราศีธนู

วันในสัปดาห์

[แก้]

ในปฏิทินสุริยคติวันในสัปดาห์ตามปฏิทินกริกอเรียนเช่นกันโดยในแต่ละสัปดาห์จะประกอบไปด้วย 7 วัน ซึ่งเริ่มต้นสัปดาห์ด้วยวันอาทิตย์

ชื่อไทย คำอ่าน ชื่อทางโหร สีประจำวัน สีประจำวัน
ตามตำราสวัสดิรักษา
อาทิตย์ อา-ทิด อาทิจวาร (อ) ██ สีแดง ██ สีแดง
จันทร์ จัน จันทรวาร (จ) ██ สีเหลือง ██ สีนวลขาว
อังคาร อัง-คาน ภุมวาร (ภ) ██ สีชมพู ██ สีม่วงคราม
พุธ พุด วุธวาร (ว) ██ สีเขียว ██ สีแสด
พฤหัสบดี พะ-รึ-หัด-สะ-บอ-ดี หรือ พฺรึ-หัด-สะ-บอ-ดี ชีววาร (ช) ██ สีส้ม ██ สีเขียวปนเหลือง
ศุกร์ สุก ศุกรวาร (ศ) ██ สีฟ้า ██ สีเมฆ
เสาร์ เสา โสรวาร (ส) ██ สีม่วง ██ สีดำ

อ้างอิง

[แก้]
  1. พระบรมราชโองการ ประกาศ วิธีนับ วัน เดือน ปี ราชกิจจานุเบกษา ๒๙ ก ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๕ หน้า ๒๖๔
  2. Kala Vol. 1 2006: 38
  3. 3.0 3.1 ความรู้เรื่องศักราชที่ใช้ในหนังสือไทย จากเว็บสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
  4. สุชาฎา ประพันธ์วงศ์. "กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ผู้ตั้งชื่อเดือนของไทย". หนังสือพิมพ์มติชน วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ปีที่ 29 ฉบับที่ 10205
    ข้อมูลออนไลน์สามารถดูได้ที่ เว็บไซต์ Eduzones เก็บถาวร 2011-07-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน