[go: nahoru, domu]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศโครเอเชีย"

พิกัด: 45°10′N 15°30′E / 45.167°N 15.500°E / 45.167; 15.500
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
Count Count (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted 1 edit by Ramgon (talk): Rv spam (TwinkleGlobal)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
(ไม่แสดง 29 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 15 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Short description|ประเทศในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Coord|45|10|N|15|30|E|display=title}}
{{Coord|45|10|N|15|30|E|display=title}}
{{Infobox country
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| native_name = {{lang|hr|Republika Hrvatska}} <small>{{hr icon}}</small>
| conventional_long_name = สาธารณรัฐโครเอเชีย
| conventional_long_name = สาธารณรัฐโครเอเชีย
| common_name = โครเอเชีย
| common_name = โครเอเชีย
| native_name = {{lang|hr|Republika Hrvatska}} <small>{{hr icon}}</small>
| image_flag = Flag_of_Croatia.svg
| image_flag = Flag of Croatia.svg
| image_coat = Coat_of_arms_of_Croatia.svg
| image_map = EU-Croatia.svg
| image_coat = Coat of arms of Croatia.svg
| anthem = "[[ลีเยพานาชาดอมอวีนอ]]"<br /><div style="display:inline-block;margin-top:0.4em;">[[ไฟล์:Lijepa nasa domovino instrumental.ogg|center]]</div>
| national_motto = ไม่มี
| image_map = {{Switcher|[[ไฟล์:EU-Croatia (orthographic projection).png|frameless]]|แสดงลูกโลก|[[ไฟล์:EU-Croatia.svg|upright=1.15|frameless]]|แสดงทวีปยุโรป|default=2}}
| national_anthem =<span style="line-height:1.25em;">''[[ลิเยปา นาชา โดโมวีโน]]''<br /><small>''Our beautiful homeland''</small></span><br /><center>[[ไฟล์:Lijepa nasa domovino instrumental.ogg]]</center>
| map_caption = {{map caption |location_color=เขียวเข้ม |region=ยุโรป |region_color=เทาเข้ม |subregion=[[สหภาพยุโรป]] |subregion_color=เขียว}}
| official_languages = [[ภาษาโครเอเชีย]]<sup>1</sup>
| capital = [[ซาเกร็บ]]
| capital = [[ซาเกร็บ]]
| coordinates = {{Coord|45|48|N|16|0|E|type:city}}
| coordinates = {{Coord|45|48|N|16|0|E|type:city}}
| largest_city = [[ซาเกร็บ]]
| largest_city = เมืองหลวง
| official_languages = [[ภาษาโครเอเชีย|โครเอเชีย]]<small>{{efn|นอกจากภาษานี้ ยังมีภาษาประจำภูมิภาคที่มีการใช้งานในบางเทศมณฑล เช่น [[เทศมณฑลอิสเตรีย]]มีชนกลุ่มน้อยที่[[Italian language in Croatia|พูดภาษาอิตาลี]]<ref>{{cite web|url=http://www.pravosudje.hr/europska-povelja-o-regionalnim-ili-manjinskim-jezi|title=Europska povelja o regionalnim ili manjinskim jezicima|date=4 November 2011|publisher=[[Ministry of Justice and Public Administration (Croatia)]]|language=hr|archive-url=https://web.archive.org/web/20131227001603/http://www.pravosudje.hr/europska-povelja-o-regionalnim-ili-manjinskim-jezi|archive-date=27 December 2013|url-status=dead|access-date=1 December 2018}}</ref><ref name="Census-2011-languages">{{Croatian Census 2011|T}}</ref> และมีหลายเทศมณฑลติดกับประเทศเซอร์เบียที่[[Serbian language in Croatia|พูดภาษาเซอร์เบียมาตรฐาน]]<ref>{{Cite news|url=https://www.economist.com/the-economist-explains/2017/04/10/is-serbo-croatian-a-language|title=Is Serbo-Croatian a language?|date=10 April 2017|newspaper=The Economist|access-date=1 December 2018|language=en}}</ref>}}</small>
| government_type = [[รัฐเดี่ยว]] [[ระบบรัฐสภา]] [[สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ]]
| languages_type = [[ระบบการเขียน]]
| leader_title1 = [[รายนามประธานาธิบดีโครเอเชีย|ประธานาธิบดี]]
| languages = [[อักษรละติน|ละติน]]
| leader_title2 = [[รายนามนายกรัฐมนตรีโครเอเชีย|นายกรัฐมนตรี]]
| ethnic_groups = {{Unbulleted list |90.42% [[ชาวโครแอต]] |4.36% [[Serbs of Croatia|ชาวเซิร์บ]] |item3_style=padding-top:0.2em;line-height:1.2em|5.22% [[Demographics of Croatia#Ethnic groups|อื่น ๆ]]}}
| leader_name1 = [[Zoran Milanović]]
| ethnic_groups_year = 2011<ref name="Census2011-nationality">{{Croatian Census 2011|E}}</ref>
| leader_name2 = [[อันเดรย์ เปลงกอวิช]]
| religion = {{ublist |item_style=white-space;|91.06% [[คริสต์]]|—86.28% [[โรมันคาทอลิก]] |—4.44% [[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์|ออร์ทอดอกซ์]] |—0.34% [[โปรเตสแตนต์]] |4.57% [[การไม่มีศาสนา|ไม่มี]] |4.37% [[ศาสนาในประเทศโครเอเชีย|อื่น ๆ]]}}
| area_km2 = 56,594
| religion_year = ค.ศ. 2011
| area_rank = 124th
| demonym =
| area_sq_mi = 21,851
| government_type = [[รัฐเดี่ยว]] [[สาธารณรัฐระบบรัฐสภา]]
| percent_water = 1.09
| leader_title1 = [[ประธานาธิบดีโครเอเชีย|ประธานาธิบดี]]
| population_estimate = {{decrease}} 4,058,165<ref>{{cite web |url=https://ec.europa.eu/eurostat/tgm/table.do?tab=table&plugin=1&language=en&pcode=tps00001 |title=Population on 1 January |publisher=[[Eurostat]] |website=ec.europa.eu/eurostat |access-date=7 August 2020}}</ref>
| leader_name1 = [[ซอรัน มีลานอวิช]]
| population_census = 4,284,889<ref name="Census 2011 counties">{{Croatian Census 2011|S}}</ref>
| leader_title2 = [[นายกรัฐมนตรีโครเอเชีย|นายกรัฐมนตรี]]
| population_estimate_year = 2020
| leader_name2 = [[อันเดรย์ เปลงกอวิช]]
| population_census_year = 2011
| leader_title3 = [[ประธานรัฐสภาโครเอเชีย|ประธานรัฐสภา]]
| population_estimate_rank = 128
| leader_name3 = [[กอร์ดัน ยันดรอกอวิช]]
| legislature = [[Sabor]]
| established_event1 = [[ดัชชีโครเอเชีย|ดัชชี]]
| established_date1 = คริสต์ศตวรรษที่ 9
| established_event2 = [[ราชอาณาจักรโครเอเชีย (ค.ศ. 925–1102)|ราชอาณาจักร]]
| established_date2 = ค.ศ. 925
| established_event3 = [[โครเอเชียในรัฐร่วมประมุขกับฮังการี]]
| established_date3 = ค.ศ. 1102
| established_event4 = เข้าร่วม[[ราชอาณจักรโครเอเชีย (ราชาธิปไตยฮาพส์บวร์ค)|ราชาธิปไตยฮาพส์บวร์ค]]
| established_date4 = 1 มกราคม ค.ศ. 1527
| established_event5 = แยกตัวจาก<br />[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]]
| established_date5 = 29 ตุลาคม ค.ศ. 1918
| established_event6 = [[การสถาปนายูโกสลาเวีย|ก่อตั้งยูโกสลาเวีย]]
| established_date6 = 4 ธันวาคม ค.ศ. 1918
| established_event7 = [[Independence of Croatia|ประกาศเอกราช]]
| established_date7 = 25 มิถุนายน ค.ศ. 1991<ref name="NN-Holidays">{{cite news |newspaper=[[Narodne Novine]] |url=https://narodne-novine.nn.hr/clanci/sluzbeni/2019_11_110_2212.html |title=Zakon o blagdanima, spomendanima i neradnim danima u Republici Hrvatskoj |trans-title=Law of Holidays, Memorial Days and Non-Working Days in the Republic of Croatia |language= hr |date=15 November 2019 |access-date=31 May 2021}}</ref>
| established_event8 = [[ข้อตกลงเอร์ดุต]]
| established_date8 = 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995
| established_event9 = [[2013 enlargement of the European Union|เข้าร่วม]][[สหภาพยุโรป]]
| established_date9 = 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2013
| area_km2 = 56,594
| area_rank = อันดับที่ 124
| area_sq_mi = 21,851
| percent_water = 1.09
| population_estimate = {{decreaseNeutral}} 3,888,529<ref>{{cite web |url=https://popis2021.hr/assets/xls/popis_2021_prvi_rezultati.xlsx |title=Census of population, households and dwellings in 2021 - First results |publisher=[[Croatian Bureau of Statistics]] |date=14 January 2022 |access-date=15 January 2022 |archive-date=2022-01-30 |archive-url=https://web.archive.org/web/20220130111316/https://popis2021.hr/assets/xls/popis_2021_prvi_rezultati.xlsx |url-status=dead }}</ref>
| population_census = 4,284,889<ref name="Census 2011 counties">{{Croatian Census 2011|S}}</ref>
| population_estimate_year = ค.ศ. 2021
| population_census_year = ค.ศ. 2011
| population_estimate_rank = อันดับที่ 128
| population_density_km2 = 73
| population_density_km2 = 73
| population_density_sq_mi = 189
| population_density_sq_mi = 189
| population_density_rank = 109
| population_density_rank = อันดับที่ 109
| GDP_PPP = {{increase}}145 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [https://www.imf.org/en/Publications/WEO/weo-database/2022/April/weo-report?c=960,944,964,968,942,&s=NGDPD,PPPGDP,NGDPDPC,PPPPC,&sy=2020&ey=2027&ssm=0&scsm=1&scc=0&ssd=1&ssc=0&sic=0&sort=country&ds=.&br=1]
| GDP_PPP = $117.928&nbsp;พันล้าน<ref name=WEO2018>{{cite web|url= https://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2019/02/weodata/weorept.aspx?pr.x=103&pr.y=11&sy=2017&ey=2024&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=960&s=NGDPD%2CPPPGDP%2CNGDPDPC%2CPPPPC&grp=0&a=|access-date=16 January 2020 |title=World Economic Outlook Database, October 2019 – Croatia|work=International Monetary Fund}}</ref>
| GDP_PPP_year = 2020
| GDP_PPP_year = ค.ศ. 2022
| GDP_PPP_rank = 80
| GDP_PPP_rank = อันดับที่ 80
| GDP_PPP_per_capita = $29,207<ref name=WEO2018/>
| GDP_PPP_per_capita = {{increase}} 36,201 ดอลลาร์สหรัฐ
| GDP_PPP_per_capita_rank = 49
| GDP_PPP_per_capita_rank = อันดับที่ 49
| GDP_nominal = $63.172&nbsp;พันล้าน<ref name=WEO2018/>
| GDP_nominal = {{increase}} 69.45 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
| GDP_nominal_year = 2020
| GDP_nominal_year = ค.ศ. 2022
| GDP_nominal_rank = 77
| GDP_nominal_rank = อันดับที่ 81
| GDP_nominal_per_capita = {{increase}} 17,337 ดอลลาร์สหรัฐ [https://www.imf.org/en/Publications/WEO/weo-database/2022/April/weo-report?c=960,944,964,968,942,&s=NGDPD,PPPGDP,NGDPDPC,PPPPC,&sy=2020&ey=2027&ssm=0&scsm=1&scc=0&ssd=1&ssc=0&sic=0&sort=country&ds=.&br=1]
| GDP_nominal_per_capita = $15,646<ref name=WEO2018/>
| GDP_nominal_per_capita_rank = 55
| GDP_nominal_per_capita_rank = อันดับที่ 66
| Gini = 29.7
| Gini = 28.3
| Gini_year = 2018
| Gini_year = ค.ศ. 2020
| Gini_change = decrease <!--increase/decrease/steady-->
| Gini_change = decrease <!--increase/decrease/steady-->
| Gini_ref =<ref>{{cite web|title=First Results|url=http://www.dzs.hr/Eng/system/first_results.htm|access-date=21 July 2017}}</ref>
| Gini_ref = <ref name=eurogini>{{cite web |url=https://ec.europa.eu/eurostat/databrowser/view/tessi190/default/table?lang=en |title=Gini coefficient of equivalised disposable income – EU-SILC survey|publisher=[[Eurostat]] |website=ec.europa.eu |access-date=9 August 2021}}</ref>
| Gini_rank = 17
| Gini_rank =
| HDI_year = 2019<!-- Please use the year to which the data refers, not the publication year-->
| HDI_year = ค.ศ. 2019<!-- Please use the year to which the data refers, not the publication year-->
| HDI_change = increase <!--increase/decrease/steady-->
| HDI_change = increase <!--increase/decrease/steady-->
| HDI = 0.851 <!--number only-->
| HDI = 0.851 <!--number only-->
| HDI_ref =<ref name="UNHDR">{{cite book|title=Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene|date=15 December 2020|publisher=United Nations Development Programme|isbn=978-92-1-126442-5|pages=343–346|url=http://hdr.undp.org/sites/default/files/hdr2020.pdf|access-date=16 December 2020}}</ref>
| HDI_ref = <ref name="UNHDR">{{cite book|title=Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene|date=15 December 2020|publisher=United Nations Development Programme|isbn=978-92-1-126442-5|pages=343–346|url=http://hdr.undp.org/sites/default/files/hdr2020.pdf|access-date=16 December 2020}}</ref>
| HDI_rank = 43
| HDI_rank = อันดับที่ 43
| currency = [[ยูโร]]
| sovereignty_type = [[เอกราช|ได้รับเอกราช]]
| currency_code = €) (EUR
| established_event1 = จาก [[ยูโกสลาเวีย]]
| time_zone = [[Central European Time|CET]]
| established_date1 = [[25 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2534]]
| utc_offset = +1
| currency = [[คูนา (หน่วยเงิน)|คูนา]]&nbsp;
| utc_offset_DST = +2
| currency_code = HRK
| time_zone_DST = [[Central European Summer Time|CEST]]
| time_zone = [[เวลายุโรปกลาง|CET]]
| date_format = วว. ดด. ปปปป.&nbsp;(ค.ศ.)
| utc_offset = +1
| drives_on = ขวามือ
| time_zone_DST = [[เวลาฤดูร้อนยุโรปกลาง|CEST]]
| calling_code = [[Telephone numbers in Croatia|+385]]
| utc_offset_DST = +2
| patron_saint = [[นักบุญโยเซฟ]]<ref name="Hrvatski sabor - Povijest">{{cite web|url=http://www.sabor.hr/sv-josip-zastitnik-hrvatske-domovine|access-date=10 March 2018|title=Hrvatski sabor – Povijest|archive-url=https://web.archive.org/web/20180306022924/http://www.sabor.hr/sv-josip-zastitnik-hrvatske-domovine|archive-date=6 March 2018|url-status=dead}}</ref>
| cctld = [[.hr]]
| cctld = {{vunblist| [[.hr]] และ [[.eu]]}}
| calling_code = 385
| footnotes = <sup>1</sup>ใช้[[ภาษาอิตาลี]]ใน[[เทศมณฑลอิสเตรีย]]ด้วย
}}
}}
'''โครเอเชีย''' ({{lang-en|Croatia}}; {{lang-hr|Hrvatska}}, {{IPA-hr|xř̩ʋaːtskaː|pron}}) หรือชื่อทางการว่า '''สาธารณรัฐโครเอเชีย''' ({{lang-en|Republic of Croatia}}; {{lang-hr|Republika Hrvatska}}, {{IPA-hr|ˈrepǔblika ˈxř̩ʋaːtskaː|hr}}) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บนทางแยกกลางระหว่าง[[ยุโรปกลาง]] และตะวันออกเฉียงใต้ แนวชายฝั่งของประเทศตั้งอยู่บริเวณ[[ทะเลเอเดรียติก]] มีชายแดนติดกับ[[สโลวีเนีย]]ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ [[ฮังการี]]ทางตะวันออกเฉียงเหนือ [[เซอร์เบีย]]ทางตะวันออก [[บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา]] และ[[มอนเตเนโกร]]ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงมีขอบเขตทางทะเลติดต่อกับ[[อิตาลี]]ทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ โครเอเชียมีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือ[[ซาเกร็บ]] เป็นหนึ่งใน[[เขตการปกครองของโครเอเชีย|เขตการปกครองหลัก]]ของประเทศ โดยแบ่งเป็น [[เทศมณฑลของประเทศโครเอเชีย|20 เทศมณฑล]] ประเทศมีขนาดพื้นที่ {{convert|56594|km2|sqmi|0|abbr=off}} มีประชากรราว 3.9 ล้านคน<ref>{{Cite web|title=Croatia Population (2023) - Worldometer|url=https://www.worldometers.info/world-population/croatia-population/|website=www.worldometers.info|language=en}}</ref>


[[ชาวโครแอต]]ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวโครเอเชียเข้ามาตั้งรกรากบริเวณปัจจุบันเมื่อปลายศตวรรษที่ 6 ซึ่งขณะนั้นดินแดนส่วนใหญ่ยังเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาค[[อิลิเรีย]] อาณาเขตทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็นสอง[[ดัชชี]]ในศตวรรษที่ 7<ref>{{Cite web|title=Croatian :: Ngati Tarara 'The Olive and Kauri'|url=http://www.croatianclub.org/history/ngati-tarara/|website=www.croatianclub.org}}</ref> โครเอเชียได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 879 ในรัชสมัยของ[[ดยุกมันซิเมียร์แห่งโครเอเชีย]]ซึ่งครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 879 ถึง 892 ต่อมา [[พระเจ้าตอมิสลัฟที่ 1 แห่งโครเอเชีย]]กลายเป็นปฐมกษัตริย์แห่งโครเอเชียใน ค.ศ. 925 และได้ขยายอาณาเขตและความรุ่งเรืองจนกลายเป็นอาณาจักร ในช่วงวิกฤติการสืบราชสันตติวงศ์หลังจา[[กราชวงศ์ตรีปิมิโรวิช]]สิ้นสุดลง โครเอเชียและ[[ประเทศฮังการี|ฮังการี]]ได้กลายเป็น[[รัฐร่วมประมุข]]ใน ค.ศ. 1102 ต่อมาใน ค.ศ. 1527 โครเอเชียต้องเผชิญกับ[[สงครามโครเอเชีย–ออตโตมันร้อยปี]] [[รัฐสภาโครเอเชีย]]มีมติเลือก[[จักรพรรดิแฟร์ดีนันท์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ขึ้นครองบัลลังก์
'''โครเอเชีย''' ({{lang-en|Croatia}}; {{lang-hr|Hrvatska}}) หรือชื่อทางการว่า '''สาธารณรัฐโครเอเชีย''' ({{lang-en|Republic of Croatia}}; {{lang-hr|Republika Hrvatska}}) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนใน[[ยุโรป]]ที่มีอาณาเขตจรด[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] [[ยุโรปกลาง]] และ[[บอลข่าน]] [[เมืองหลวง]]ชื่อ[[ซาเกร็บ]] ใน[[ประวัติศาสตร์ของโครเอเชีย|ประวัติศาสตร์]]ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐใน[[ยูโกสลาเวีย]]เดิม แต่ได้รับเอกราชใน[[พ.ศ. 2534]] และได้[[การขยายสหภาพยุโรป|สมัคร]]เพื่อเป็น[[สมาชิกอียู|สมาชิก]][[สหภาพยุโรป]]ในอนาคต


ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1918 [[รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ]]ได้ถือกำเนิดขึ้นในช่วงสั้น ๆ ภายหลังการยุบตัวของจักรวรรดิภายหลัง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ความเป็นอิสระจากออสเตรียและฮังการีได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการ ณ เมืองซาเกร็บในเดือนธันวาคมปีเดียวกันนั้น ดินแดนทั้งหมดถูกควบรวมเป็นส่วนหนึ่งของ[[ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย]] ภายหลัง[[การบุกครองยูโกสลาเวีย]]โดย[[ฝ่ายอักษะ]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ดินแดนส่วนใหญ่ได้กลายเป็น[[รัฐหุ่นเชิด]]ของ[[นาซีเยอรมนี]]ในนาม[[รัฐเอกราชโครเอเชีย]] ขบวนการต่อต้านเผด็จการนำไปสู่การสถาปนา[[สาธารณรัฐสังคมนิยมโครเอเชีย]] ซึ่งภายหลังสงครามได้กลายมาเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งและเป็นองค์ประกอบของ[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย]] ต่อมาในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1991 มี[[การออกเสียงประชามติ]]รับรองเอกราช และ[[สงครามประกาศอิสรภาพโครเอเชีย]]ประสบความสำเร็จในเวลาสี่ปี ส่งผลให้ประเทศได้รับเอกราชถาวร และเป็นที่รู้จักในชื่อ ''"สาธารณรัฐโครเอเชีย"'' มาถึงปัจจุบัน
ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28

โครเอเชียเป็น[[สาธารณรัฐ]]ด้วย[[ระบบรัฐสภา]] และปกครองด้วย[[ประชาธิปไตยเสรีนิยม|ระบอบประชาธิปไตยเสรีนิยม]] เป็นสมาชิกของ[[สหภาพยุโรป]], [[ยูโรโซน]], [[พื้นที่เชงเกน|พื้นที่เชงเกน,]] [[เนโท]], [[สภายุโรป]], [[องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป]], [[องค์การการค้าโลก]], [[สหประชาชาติ]] รวมทั้งเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้ง[[สหภาพเมดิเตอร์เรเนียน]] ปัจจุบันโครเอเชียอยู่ระหว่างการยื่นขอเป็นสมาชิก[[องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา]] และมีส่วนร่วมใน[[การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ]] รวมทั้ง[[กองกำลังช่วยเหลือความมั่นคงระหว่างประเทศ]] และได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งไม่ถาวรใน[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ]]เป็นครั้งแรกระหว่าง ค.ศ. 2008–2009

โครเอเชียเป็น[[ประเทศพัฒนาแล้ว]] และมีรายรับสูงตามการจัดอันดับโดย[[ธนาคารโลก]] ประเทศนี้อยู่ในอันดับ 40 ตาม[[ดัชนีการพัฒนามนุษย์]]<ref>{{Cite web|title=World Economic Outlook Database|url=https://www.imf.org/en/Publications/WEO/weo-database/2023/April|website=IMF|language=en}}</ref> รายได้หลักมาจาก[[การบริการ]], ภาคอุตสาหกรรม และ[[เกษตรกรรม]] ในขณะที่[[การท่องเที่ยว]]เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ โดยมีจำนวน[[การท่องเที่ยว|นักท่องเที่ยว]]เข้ามาเกือบ 20 ล้านคนใน ค.ศ. 2019<ref>{{Cite web|title=Croatia tourist arrivals 2022|url=https://www.statista.com/statistics/413226/number-of-arrivals-spent-in-short-stay-accommodation-in-croatia/|website=Statista|language=en}}</ref><ref>{{Cite web|title=World Bank Open Data|url=https://data.worldbank.org/|website=World Bank Open Data}}</ref><ref>{{Cite web|last=Nast|first=Condé|date=2019-10-07|title=Top 20 Countries in the World: Readers’ Choice Awards 2023|url=https://www.cntraveler.com/story/top-countries-in-the-world|website=Condé Nast Traveler|language=en-US}}</ref> นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 [[รัฐบาลโครเอเชีย]]เน้นการลงทุนด้าน[[โครงสร้างพื้นฐาน]] โดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมและสิ่งอำนวยความสะดวกตามแนว[[เส้นทางข้ามทวีปยุโรป]] และได้กลายเป็นผู้นำด้าน[[พลังงาน]]ในภูมิภาคตั้งแต่ทศวรรษ 2020 โดยมีส่วนสำคัญในการสนับสนุนการกระจายพลังงานในทวีปยุโรป ผ่านคลังเก็บ[[แก๊สธรรมชาติ|ก๊าซธรรมชาติ]]ซึ่งตั้งอยู่บริเวณรอบนอก[[เกาะเกิร์ก]] โครเอเชียมีระบบประกันสังคมที่มีคุณภาพ รวมถึงการดูแลสุขภาพโดยถ้วนหน้า เยาวชนมีสิทธิขั้นพื้นฐานในการศึกษาตั้งแต่ระดับประถมถึงมัธยมโดยไม่เสียค่าเล่าเรียน ในขณะเดียวกันรัฐบาลมีการปลูกฝัง[[ค่านิยม]]ทางวัฒนธรรมผ่านสถาบัน และลงทุนในด้านสื่อและ[[สิ่งพิมพ์เผยแพร่|สิ่งพิมพ์]]


== ภูมิศาสตร์ ==
== ภูมิศาสตร์ ==
โครเอเชียตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคยุโรปกลาง ภูมิภาคยุโรปใต้ และภูมิภาคยุโรปตะวันออก รูปร่างของประเทศคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยวหรือเกือกม้า ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ [[ประเทศสโลวีเนีย|สโลวีเนีย]] [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] [[ประเทศเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]] [[ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา|บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา]] [[ประเทศมอนเตเนโกร|มอนเตเนโกร]] และ[[ประเทศอิตาลี|อิตาลี]] (อีกฟากหนึ่งของ[[ทะเลเอเดรียติก]]) โดยแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนไม่ติดต่อกันโดยชายฝั่งทะเลสั้น ๆ ของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รอบ ๆ เมือง[[เนอุม]] (Neum)
โครเอเชียตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคยุโรปกลาง ภูมิภาคยุโรปใต้ และภูมิภาคยุโรปตะวันออก รูปร่างของประเทศคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยวหรือเกือกม้า ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ [[ประเทศสโลวีเนีย|สโลวีเนีย]] [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] [[ประเทศเซอร์เบีย|เซอร์เบีย]] [[ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา|บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา]] [[ประเทศมอนเตเนโกร|มอนเตเนโกร]] และ[[ประเทศอิตาลี|อิตาลี]] (อีกฟากหนึ่งของ[[ทะเลเอเดรียติก]]) โดยแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนไม่ติดต่อกันโดยชายฝั่งทะเลสั้น ๆ ของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รอบ ๆ เมือง[[Neum|เนอุม]] (Neum)


ภูมิประเทศของโครเอเชียมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่
ภูมิประเทศของโครเอเชียมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่
* ที่ราบ ทะเลสาบ และเนินเขา ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชียและสลาโวเนีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบพันโนเนีย)
* ที่ราบ ทะเลสาบ และเนินเขา ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชียและสลาโวเนีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบพันโนเนีย)
* ภูเขาที่มีป่าไม้หนาแน่นในภูมิภาคลีคาและกอร์สกีคอตาร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[เทือกเขาดินาริกแอลป์]]
* ภูเขาที่มีป่าไม้หนาแน่นในภูมิภาคลีคาและกอร์สกีคอตาร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[เทือกเขาแอลป์|เทือกเขาดินาริกแอลป์]]
* ชายฝั่งทะเลเอเดรียติกที่เต็มไปด้วยโขดหิน (ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และแดลเมเชีย)
* ชายฝั่งทะเลเอเดรียติกที่เต็มไปด้วยโขดหิน (ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และแดลเมเชีย)


บรรทัด 80: บรรทัด 112:
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์โครเอเชีย}}
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์โครเอเชีย}}
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===
พื้นที่ที่รู้จักกันในปัจจุบันในนามโครเอเชียได้ดำรงอยู่ตลอดตั้งแต่ช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ ฟอสซิลของมนุษย์ยุคหินในยุคพาเลโอลิธิคถูกขุดค้นพบในที่ตั้งเมืองที่โด่งดังและเป็นที่ถูกนำเสนอมากที่สุดอยู่ที่เมืองคราปินาในทางตอนเหนือของประเทศโครเอเชีย เศษซากของวัฒนธรรมนีโอลิธิคและคัลโคลิธิคมากมายถูกค้นพบในทุกบริเวณของประเทศ สัดส่วนที่ใหญ่สุดของที่เมืองคราปินาคือหุบเขาแม่น้ำของทางตอนเหนือของประเทศโครเอเชีย และวัฒนธรรมสำคัญที่ถูกค้นพบในบริเวณนั้น ได้แก่ วัฒนธรรมสตาร์เชโว วูเชดอล และบาเดน ต่อมาช่วงยุคเหล็กได้เหลือร่องรอยวัฒนธรรมฮัลชตัตต์อิลลิเรียและวัฒนธรรมเซลติกลาเทน
พื้นที่ที่รู้จักกันในปัจจุบันในนามโครเอเชียได้ดำรงอยู่ตลอดตั้งแต่ช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ ฟอสซิลของมนุษย์ยุคหินในยุคพาเลโอลิธิคถูกขุดค้นพบในที่ตั้งเมืองที่โด่งดังและเป็นที่ถูกนำเสนอมากที่สุดอยู่ที่เมืองคราปินาในทางตอนเหนือของประเทศโครเอเชีย เศษซากของวัฒนธรรมนีโอลิธิคและคัลโคลิธิคมากมายถูกค้นพบในทุกบริเวณของประเทศ สัดส่วนที่ใหญ่สุดของที่เมืองคราปินาคือหุบเขาแม่น้ำของทางตอนเหนือของประเทศโครเอเชีย และวัฒนธรรมสำคัญที่ถูกค้นพบในบริเวณนั้น ได้แก่ วัฒนธรรมสตาร์เชโว วูเชดอล และบาเดน ต่อมาช่วงยุคเหล็กได้เหลือร่องรอยวัฒนธรรมฮัลชตัตต์อิลลิเรียและวัฒนธรรมเซลติกลาเทน


=== ยุคกรีก และ โรมัน ===
=== ยุคกรีกโรมัน ===
หลังจากนั้น ชาวอิลลิเรียและชาวลิบูร์เนียได้ตั้งรกรากในบริเวณนี้ ในขณะที่อาณานิคมกรีกแห่งแรกถูกก่อตั้งขึ้นในเกาะฮวาร์ เกาะคอร์ชูลา และเกาะวิส ในคริสต์ศักราชที่ 9 อาณาเขตของประเทศโครเอเชียในปัจจุบันได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน จักรพรรดิดีโอเคลเตียนมีปราสาทใหญ่ที่สร้างขึ้นในเมืองสปลิต ซึ่งพระองค์ได้ถอนตัวหลังจากสละราชสมบัติในคริสต์ศักราชที่ 309
หลังจากนั้น ชาวอิลลิเรียและชาวลิบูร์เนียได้ตั้งรกรากในบริเวณนี้ ในขณะที่อาณานิคมกรีกแห่งแรกถูกก่อตั้งขึ้นในเกาะฮวาร์ เกาะคอร์ชูลา และเกาะวิส ในคริสต์ศักราชที่ 9 อาณาเขตของประเทศโครเอเชียในปัจจุบันได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน จักรพรรดิดีโอเคลเตียนมีปราสาทใหญ่ที่สร้างขึ้นในเมืองสปลิต ซึ่งพระองค์ได้ถอนตัวหลังจากสละราชสมบัติในคริสต์ศักราชที่ 309


ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรพรรดิจูเลียส เนโปสปกครองดินแดนเล็กๆ จากปราสาท หลังจากอพยพจากประเทศอิตาลี เนื่องจากการถูกเนรเทศในปี 475 ภายหลังได้ถูกลอบปลงพระชนม์ในปีค.ศ. 480 ในช่วงยุคนี้ได้จบลงที่ชาวอวาร์และชาวโครแอตได้บุกรุกในครึ่งปีแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 7 และการล่มสลายของเมืองโรมัน ชาวโรมันที่รอดชีวิตได้หนีไปยังในที่ที่เหมาะสม อย่างในชายฝั่ง เกาะ และภูเขา เมืองดูบรอฟนิกถูกตั้งขึ้นโดยผู้รอดชีวิตจากเอปิดาอูรุม ([[:en:Epidaurum|Epidaurum]])
ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรพรรดิจูเลียส เนโปสปกครองดินแดนเล็ก ๆ จากปราสาท หลังจากอพยพจากประเทศอิตาลี เนื่องจากการถูกเนรเทศในปี 475 ภายหลังได้ถูกลอบปลงพระชนม์ในปี ค.ศ. 480 ในช่วงยุคนี้ได้จบลงที่ชาวอวาร์และชาวโครแอตได้บุกรุกในครึ่งปีแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 7 และการล่มสลายของเมืองโรมัน ชาวโรมันที่รอดชีวิตได้หนีไปยังในที่ที่เหมาะสม อย่างในชายฝั่ง เกาะ และภูเขา เมืองดูบรอฟนิกถูกตั้งขึ้นโดยผู้รอดชีวิตจากเอปิดาอูรุม ([[:en:Epidaurum|Epidaurum]])


แหล่งกำเนิดชนกลุ่มชาวโครแอตยังไม่แน่นอน และมีหลากหลายทฤษฎีที่โต้เถียงกัน ชนชาติสลาฟและอิเรเนียนเป็นทฤษฎีที่กล่าวถึงบ่อยที่สุด ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางคือทฤษฎีชาวสลาฟ เสนอการอพยพของชาวไวต์โครแอตจากอาณาเขตของไวต์โครเอเชียระหว่างในยุคการอพยพ โดยทางตรงกันข้าม ทฤษฎีชาวอิเรเนียน เสนอที่มาของชาวอิเรเนียน โดยมีพื้นฐานจากแผ่นจารึกทานาย ซึ่งมีข้อความที่จารึกชื่อเป็นภาษากรีก Χορούαθ[ος], Χοροάθος, and Χορόαθος (Khoroúathos, Khoroáthos, and Khoróathos) และตีความได้เป็นชื่อของชาวโครเอเชีย
แหล่งกำเนิดชนกลุ่มชาวโครแอตยังไม่แน่นอนและมีหลากหลายทฤษฎีที่โต้เถียงกัน ชนชาติสลาฟและอิเรเนียนเป็นทฤษฎีที่กล่าวถึงบ่อยที่สุด ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางคือทฤษฎีชาวสลาฟ เสนอการอพยพของชาวไวต์โครแอตจากอาณาเขตของไวต์โครเอเชียระหว่างในยุคการอพยพ โดยทางตรงกันข้าม ทฤษฎีชาวอิเรเนียน เสนอที่มาของชาวอิเรเนียน โดยมีพื้นฐานจากแผ่นจารึกทานาย ซึ่งมีข้อความที่จารึกชื่อเป็นภาษากรีก Χορούαθ[ος], Χοροάθος, and Χορόαθος (Khoroúathos, Khoroáthos, and Khoróathos) และตีความได้เป็นชื่อของชาวโครเอเชีย


=== ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก และ ออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1538–1918)===
=== ราชวงศ์ฮับส์บูร์กและออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1538–1918)===
{{บทความหลัก|ราชอาณาจักรโครเอเชีย (ฮับส์บูร์ก)|สงครามเอเชีย-ออตโตมัน|จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี}}หลังจากชัยชนะที่เด็ดขาดของออตโตมัน โครเอเชียได้แยกเป็นอาณาเขตพลเมืองและอาณาเขตทางทหาร ซึ่งแบ่งแยกในปีค.ศ. 1538 อาณาเขตทางทหารกลายเป็นที่รู้จักกันใน "แนวหน้ากองทหารโครเอเชีย" (Croatian Military Frontier) และอยู่ภายใต้การควบคุมของจักรวรรดิโดยตรง ออตโตมันได้รุดหน้าไปในอาณาเขตของโครเอเชียต่อไปจนถึงปีค.ศ. 1593 ศึกของซีซีค เป็นการพ่ายแพ้ของชาวออตโตมันครั้งแรก และการรักษาเสถียรภาพของเขตแดน ในระหว่างสงครามเติร์กครั้งยิ่งใหญ่ (ปีค.ศ. 1683-1698) เขตสลาโวเนียได้ถูกยึดคืนมา แต่ทางตะวันตกของบอสเนีย ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของโครเอเชียมาตลอด ก่อนที่ออตโตมันจะพิชิตได้ ยังคงอยู่นอกการปกครองของโครเอเชีย เขตแดนในปัจจุบันระหว่างสองประเทศนี้เป็นเศษซากของผลการพิชิตนี้ ดัลมาเชีย ชายแดนทางตอนใต้ของประเทศถูกนิยามใกล้เคียงกัน โดยสงครามออตโตมัน-เวเนเชียนครั้งที่ห้าและครั้งที่เจ็ด
{{บทความหลัก|ราชอาณาจักรโครเอเชีย (ฮับส์บูร์ก)|สงครามโครเอเชีย-ออตโตมัน|จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี}}หลังจากชัยชนะที่เด็ดขาดของ[[จักรวรรดิออตโตมัน|ออตโตมัน]] โครเอเชียได้แยกเป็นอาณาเขตพลเมืองและอาณาเขตทางทหาร ซึ่งแบ่งแยกในปี ค.ศ. 1538 อาณาเขตทางทหารกลายเป็นที่รู้จักกันใน "แนวหน้ากองทหารโครเอเชีย" (Croatian Military Frontier) และอยู่ภายใต้การควบคุมของจักรวรรดิโดยตรง ออตโตมันได้รุดหน้าไปในอาณาเขตของโครเอเชียต่อไปจนถึงปี ค.ศ. 1593 ศึกของซีซีค เป็นการพ่ายแพ้ของชาวออตโตมันครั้งแรก และการรักษาเสถียรภาพของเขตแดน ในระหว่างสงครามเติร์กครั้งยิ่งใหญ่ (.ศ. 1683-1698) เขตสลาโวเนียได้ถูกยึดคืนมา แต่ทางตะวันตกของบอสเนีย ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของโครเอเชียมาตลอด ก่อนที่ออตโตมันจะพิชิตได้ ยังคงอยู่นอกการปกครองของโครเอเชีย เขตแดนในปัจจุบันระหว่างสองประเทศนี้เป็นเศษซากของผลการพิชิตนี้ ดัลมาเชีย ชายแดนทางตอนใต้ของประเทศถูกนิยามใกล้เคียงกัน โดยสงครามออตโตมัน-เวเนเชียนครั้งที่ห้าและครั้งที่เจ็ด


สงครามออตโตมันกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางประชาการอย่างมาก ชาวโครแอตอพยพไปยังออสเตรีย และรัฐเบอร์เกนแลนด์ในปัจจุบัน ซึ่งชาวโครแอตเป็นลูกหลานโดยตรงของผู้ที่ไปอาศัยเหล่านั้น เพื่อแทนที่การอพยพของประชากร ราชวงศ์ฮับส์บูร์กโน้มน้าวประชาชนชาวคริสเตียนของบอสเนียและเซอร์เบียเข้าร่วมรับราชการทางทหารในแนวหน้าทางทหารของโครเอเชีย การอพยพของชาวเซิร์บไปยังแถบนี้ถึงขั้นขีดสุดในระหว่างช่วงการอพยพของชาวเซิร์บครั้งยิ่งใหญ่ในปีค.ศ. 1690 และ ปีค.ศ. 1737-1739
สงครามออตโตมันกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางประชาการอย่างมาก ชาวโครแอตอพยพไปยังออสเตรีย และรัฐเบอร์เกนแลนด์ในปัจจุบัน ซึ่งชาวโครแอตเป็นลูกหลานโดยตรงของผู้ที่ไปอาศัยเหล่านั้น เพื่อแทนที่การอพยพของประชากร ราชวงศ์ฮับส์บูร์กโน้มน้าวประชาชนชาวคริสเตียนของบอสเนียและเซอร์เบียเข้าร่วมรับราชการทางทหารในแนวหน้าทางทหารของโครเอเชีย การอพยพของชาวเซิร์บไปยังแถบนี้ถึงขั้นขีดสุดในระหว่างช่วงการอพยพของชาวเซิร์บครั้งใหญ่ในปี ค.ศ. 1690 และ .ศ. 1737-1739


รัฐสภาของโครเอเชียสนับสนุนกฎการสืบราชบัลลังก์ของพระเจ้าชาร์ลที่ 3 และเซ็นสัญญากฎการสืบราชบังลังก์ของพวกเขาในปีค.ศ. 1712 ต่อมาจักรพรรดิปฏิญาณที่จะพิจารณาสิทธิพิเศษและสิทธิทางการเมืองของราชอาณาจักรโครเอเชีย และพระราชินีมาเรีย เทเรซา สร้างคุณูปการที่สำคัญในเรื่องของโครเอเชีย
รัฐสภาของโครเอเชียสนับสนุนกฎการสืบราชบัลลังก์ของพระเจ้าชาร์ลที่ 3 และเซ็นสัญญากฎการสืบราชบังลังก์ของพวกเขาในปี 1712 ต่อมาจักรพรรดิปฏิญาณที่จะพิจารณาสิทธิพิเศษและสิทธิทางการเมืองของราชอาณาจักรโครเอเชีย และพระราชินีมาเรีย เทเรซา สร้างคุณูปการที่สำคัญในเรื่องของโครเอเชีย


ระหว่างในปีค.ศ. 1797 และ ปีค.ศ. 1809 จักรวรรดิฝรั่งเศสแห่งแรกค่อยๆ ยึดครองทางตะวันออกของชายฝั่งเอเดรียติกทั้งหมด และส่วนใหญ่ของพื้นที่ชนบท สิ้นสุดที่บริเวณสาธารณรัฐเวเนเชียนและสาธารณรัฐรากูซัน และก่อตั้งมลรัฐอิลลิเรีย เพื่อตอบสนองราชนาวีที่เริ่มการปิดล้อมทะเลเอเดรียติก นำไปสู่ศึกวิส (Battle of Vis) ในปี 1811 มลรัฐอิลลิเรียถูกยึดครองโดยชาวออสเตรียในปี 1813 และถูกรวมโดยจักรวรรดิออสเตรีย ตามด้วยรัฐสภาของเวียนนาในปี 1815 การถูกรวมนี้นำไปสู่การก่อตั้งอาณาจักรดัลมาเชียและการบูรณะบบบริเวณชายฝั่งของโครเอเชียให้แก่ราชอาณาจักรโครเอเชีย ในตอนนี้ทั้งสองได้อยู่ภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน ในช่วงปี 1830 และช่วงปี 1840 มีลัทธิรักชาติแบบโรแมนติกกระตุ้นการฟื้นฟูโครเอเชียระดับชาติ การรณรงค์ทางการเมืองและทางวัฒนธรรมสนับสนุนการเป็นหนึ่งเดียวของชาวสลาฟใต้ในจักรวรรดิ จุดสนใจพื้นฐานของทางจักรวรรดิคือ การกำหนดภาษามาตรฐาน รวมไปถึงการส่งเสริมวรรณกรรมโครเอเชียและวัฒนธรรมโครเอเชีย ในระหว่างการปฏิวัติฮังการี ในปีค.ศ. 1848 โครเอเชียได้อยู่ฝ่ายออสเตรีย ยอซิป เยลาชิช ช่วยในการต่อสู้รบกับกองกำลังฮังการีในปีค.ศ. 1849 และนำไปสู่ยุคนโยบายการทำให้เป็นเยอรมัน (Germanization) ในเวลาต่อไปมา
ระหว่างใน ค.ศ. 1797 และ .ศ. 1809 [[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง]]ค่อย ๆ ยึดครองทางตะวันออกของชายฝั่งเอเดรียติกทั้งหมดและส่วนใหญ่ของพื้นที่ชนบท สิ้นสุดที่บริเวณสาธารณรัฐเวเนเชียนและสาธารณรัฐรากูซัน และก่อตั้งมลรัฐอิลลิเรีย เพื่อตอบสนองราชนาวีที่เริ่มการปิดล้อมทะเลเอเดรียติก นำไปสู่ศึกวิส (Battle of Vis) ในปี 1811 มลรัฐอิลลิเรียถูกยึดครองโดยชาวออสเตรียในปี 1813 และถูกรวมโดย[[จักรวรรดิออสเตรีย]] ตามด้วยรัฐสภาของเวียนนาในปี 1815 การถูกรวมนี้นำไปสู่การก่อตั้งอาณาจักรดัลมาเชียและการบูรณะบบบริเวณชายฝั่งของโครเอเชียให้แก่ราชอาณาจักรโครเอเชีย ในตอนนี้ทั้งสองได้อยู่ภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน ในช่วงปี 1830 และช่วงปี 1840 มีลัทธิรักชาติแบบโรแมนติกกระตุ้นการฟื้นฟูโครเอเชียระดับชาติ การรณรงค์ทางการเมืองและทางวัฒนธรรมสนับสนุนการเป็นหนึ่งเดียวของชาวสลาฟใต้ในจักรวรรดิ จุดสนใจพื้นฐานของทางจักรวรรดิคือ การกำหนดภาษามาตรฐาน รวมไปถึงการส่งเสริมวรรณกรรมโครเอเชียและวัฒนธรรมโครเอเชีย ในระหว่างการปฏิวัติฮังการี ในปี 1848 โครเอเชียได้อยู่ฝ่ายออสเตรีย ยอซิป เยลาชิช ช่วยในการต่อสู้รบกับกองกำลังฮังการีในปี 1849 และนำไปสู่ยุคนโยบายการทำให้เป็นเยอรมัน (Germanization) ในเวลาต่อไปมา


ในปีค.ศ. 1860 ความล้มเหลวของนโยบายเริ่มชัดเจนขึ้น นำไปสู่การประนีประนอมของออสโตร-ฮังการีของปีค.ศ. 1867 และการสร้างการรวมตัวระหว่างบุคคลระหว่างจุดสูงสุดของจักรวรรดิออสเตรียและราชอาณาจักรฮังการี สนธิสัญญาทิ้งสถานะของโครเอเชียให้กับฮังการี และสถานะเปลี่ยนโดยข้อยุติโครเอเชีย-ฮังการี ในปีค.ศ. 1868 เมื่อราชอาณาจักรโครเอเชียและสลาโวเนียได้รวมเป็นหนึ่งเดียว ราชอาณาจักรดัลมาเชียยังคงเป็นอยู่ในการปกครองของออสเตรียทางพฤตินัย ขณะที่รีเยกา (Rijeka) ได้รับสถานะเมืองแยกตัว (Corpus separatum) ในปีค.ศ. 1779
ในปี 1860 ความล้มเหลวของนโยบายเริ่มชัดเจนขึ้น นำไปสู่การประนีประนอมของ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี|ออสเตรีย-ฮังการี]]ของปี 1867 และการสร้างการรวมตัวระหว่างบุคคลระหว่างจุดสูงสุดของ[[จักรวรรดิออสเตรีย]]และ[[ราชอาณาจักรฮังการี]] สนธิสัญญาทิ้งสถานะของโครเอเชียให้กับฮังการี และสถานะเปลี่ยนโดยข้อยุติโครเอเชีย-ฮังการี ในปี 1868 เมื่อราชอาณาจักรโครเอเชียและสลาโวเนียได้รวมเป็นหนึ่งเดียว ราชอาณาจักรดัลมาเชียยังคงเป็นอยู่ในการปกครองของออสเตรียทางพฤตินัย ขณะที่รีเยกา (Rijeka) ได้รับสถานะเมืองแยกตัว (Corpus separatum) ในปี 1779

หลังจากออสเตรีย-ฮังการียึดครองบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาจาก[[สนธิสัญญาเบอร์ลิน (ค.ศ. 1878)|สนธิสัญญาเบอร์ลิน]] แนวหน้าทางทหารโครเอเชียถูกโค่นล้ม และอาณาเขตได้กลับคืนเป็นของโครเอเชียใน ค.ศ. 1881 ตามบทบัญญัติข้อยุติของโครเอเชีย-ฮังการี ความพยายามในการรื้อฟื้นออสเตรีย-ฮังการีที่นำมาซึ่งไปสู่การรวมโครเอเชียในฐานะหน่วยสหพันธรัฐ หยุดโดยการเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1


หลังจากออสเตรีย-ฮังการียึดครองบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา จากสนธิสัญญาเบอร์ลิน 1878 (1878 Trety of Berlin) แนวหน้าทางทหารโครเอเชียถูกโค่นล้ม และอาณาเขตได้กลับคืนเป็นของโครเอเชียในปีค.ศ. 1881 ตามบทบัญญัติข้อยุติของโครเอเชีย-ฮังการี ความพยายามในการรื้อฟื้นออสเตรีย-ฮังการีที่นำมาซึ่งไปสู่การรวมโครเอเชียในฐานะหน่วยสหพันธรัฐ หยุดโดยการเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1
=== ยูโกลสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1991)===
=== ยูโกลสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1991)===
{{บทความหลัก|Creation of Yugoslavia|ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย|มลฑลโครเอเชีย|รัฐเอกราชโครเอเชีย|Yugoslav Front|สาธารณรัฐสังคมนิยมโครเอเชีย}}วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1918 รัฐสภาโครเอเชีย (Sabor) ประกาศเอกราชและตัดสินใจที่จะเข้าร่วมรัฐสโลวีน โครแอตและเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งใหม่ ซึ่งภายหลังได้รวมเป็นหนึ่งเดียวกับราชอาณาจักรเซอร์เบียในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ.1918 จึงได้ชื่อใหม่ว่า ราชอาณาจักรเซิร์บ โครแอต และสโลวีน ทางสภาโครเอเชียไม่เคยยื่นข้อเสนอในการรวมกับเซอร์เบียและมอนเตเนโกร รัฐธรรมนูญปี ค.ศ. 1921 กำหนดให้ประเทศเป็นรัฐเดี่ยว แล้วยกเลิกระบบสภาของโครเอเชียและเขตการปกครองทางประวัติศาสตร์ ส่งผลให้การปกครองตนเองของโครเอเชียได้สิ้นสุดไป
{{บทความหลัก|การสถาปนายูโกสลาเวีย|ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย|มลฑลโครเอเชีย|รัฐเอกราชโครเอเชีย|Yugoslav Front|สาธารณรัฐสังคมนิยมโครเอเชีย}}วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1918 รัฐสภาโครเอเชีย (Sabor) ประกาศเอกราชและตัดสินใจที่จะเข้าร่วม[[รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ]]ที่เพิ่งก่อตั้งใหม่ ซึ่งภายหลังได้รวมเป็นหนึ่งเดียวกับ[[ราชอาณาจักรเซอร์เบีย]]ในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1918 จึงได้ชื่อใหม่ว่า [[ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน]] ทางสภาโครเอเชียไม่เคยยื่นข้อเสนอในการรวมกับเซอร์เบียและมอนเตเนโกร รัฐธรรมนูญปี ค.ศ. 1921 กำหนดให้ประเทศเป็นรัฐเดี่ยว แล้วยกเลิกระบบสภาของโครเอเชียและเขตการปกครองทางประวัติศาสตร์ ส่งผลให้การปกครองตนเองของโครเอเชียได้สิ้นสุดไป


รัฐธรรมนูญใหม่ขัดแย้งกับพรรคการเมืองแห่งชาติที่มีการสนับสนุนโดยกว้าง คือพรรค Croatian Peasant Party (HSS) นำโดย สเตปาน ราดิช
รัฐธรรมนูญใหม่ขัดแย้งกับพรรคการเมืองแห่งชาติที่มีการสนับสนุนโดยกว้าง คือพรรค Croatian Peasant Party (HSS) นำโดย สเตฟาน ราดิช


สถานการณ์ทางการเมืองย่ำแย่ลงเมื่อราดิชถูกลอบสังหารในสมัชชาแห่งชาติในปีค.ศ. 1928 นำไปสู่ยุคเผด็จการของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ในปีค.ศ. 1929 ต่อมายุคเผด็จการได้สิ้นสุดลงอย่างทางการในปีค.ศ. 1931 เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์กำหนดรัฐธรรมนูญที่รวมศูนย์กลางไว้แห่งเดียว และเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นประเทศยูโกสลาเวีย พรรค Croatian Peasant (HSS) สนับสนุนการรวมสหพันธรัฐยูโกสลาเวีย ทำให้เป็นผลของข้อตกลง Cvetković–Maček ของเดือนสิงหาคม ปี 1939 และการก่อตั้งเขตการปกครองตนเองบาโนวีนา (Banovina) ในโครเอเชีย รัฐบาลยูโกสลาเวียยังคงควบคุมการป้องกันตัวเอง สวัสดิการภายใน การค้า และการขนส่ง ขณะที่ปัญหาอื่นๆ เหลือให้ทางสภาโครเอเชียจัดการ
สถานการณ์ทางการเมืองย่ำแย่ลงเมื่อราดิชถูกลอบสังหารในสมัชชาแห่งชาติใน ค.ศ. 1928 นำไปสู่ยุคเผด็จการของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ใน ค.ศ. 1929 ต่อมายุคเผด็จการได้สิ้นสุดลงอย่างทางการใน ค.ศ. 1931 เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์กำหนดรัฐธรรมนูญที่รวมศูนย์กลางไว้แห่งเดียวและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นประเทศยูโกสลาเวีย พรรค Croatian Peasant (HSS) สนับสนุนการรวมสหพันธรัฐยูโกสลาเวีย ทำให้เป็นผลของข้อตกลง Cvetković–Maček ของเดือนสิงหาคม ปี 1939 และการก่อตั้งเขตการปกครองตนเองบาโนวีนา (Banovina) ในโครเอเชีย รัฐบาลยูโกสลาเวียยังคงควบคุมการป้องกันตัวเอง สวัสดิการภายใน การค้า และการขนส่ง ขณะที่ปัญหาอื่น เหลือให้ทางสภาโครเอเชียจัดการ


ในเดือนเมษายน ปีค.ศ. 1941 ยูโกสลาเวียอยู่ภายใต้การควบคุมของประเทศเยอรมนีและประเทศอิตาลี ตามด้วยการบุกรุกอาณาเขตของประเทศโครเอเชีย ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และพื้นที่ Syrmia ถูกผนวกรวมเป็นรัฐเอกราชโครเอเชีย (Independent State of Croatia – NDH) ซึ่งเป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี พื้นที่ฝั่งดัลมาเชียถูกผนวกรวมกับประเทศอิตาลี และพื้นที่บารันยา (Baranja) และเมจิมูเรีย (Međimurje) ในทางตอนเหนือของโครเอเชีย ได้ถูกผนวกรวมเข้ากับประเทศฮังการี รัฐเอกราชโครเอเชียปกครองโดย อันเต ปาเลวิช (Ante Pavelić) และกลุ่มคลั่งชาติอุสตาเช่ (Ustaše)
ในเดือนเมษายน .ศ. 1941 ยูโกสลาเวียอยู่ภายใต้การควบคุมของ[[นาซีเยอรมนี]]และ[[ฟาสซิสต์อิตาลี]] ตามด้วยการบุกรุกอาณาเขตของประเทศโครเอเชีย ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และพื้นที่เซอร์เมียถูกผนวกรวมเป็น[[รัฐเอกราชโครเอเชีย]] (Independent State of Croatia – NDH) ซึ่งเป็นรัฐหุ่นเชิดของ[[นาซีเยอรมนี]] พื้นที่ฝั่งดัลมาเชียถูกผนวกรวมกับอิตาลี และพื้นที่บารันยา (Baranja) และเมจิมูเรีย (Međimurje) ในทางตอนเหนือของโครเอเชีย ได้ถูกผนวกรวมเข้ากับฮังการี รัฐเอกราชโครเอเชียปกครองโดย [[อานเต ปาเลวิช]] และกลุ่มคลั่งชาติ[[อูสตาเช]] (Ustaše)


{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}
บรรทัด 116: บรรทัด 149:


== การเมืองการปกครอง ==
== การเมืองการปกครอง ==
=== บริหาร ===
{{บทความหลัก|รัฐบาลโครเอเชีย}}

=== นิติบัญญัติ ===
{{บทความหลัก|รัฐสภาแห่งโครเอเชีย}}

=== ตุลาการ ===
{{บทความหลัก|ศาลสูงสุดโครเอเชีย}}

== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
โครเอเชียแบ่งออกเป็น 20 เทศมณฑล (counties - ''županija'') กับ 1 เขตเมืองหลวง* จัดกลุ่มรายชื่อโดยแบ่งตามภูมิภาคทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์:
โครเอเชียแบ่งออกเป็น 20 เทศมณฑล (counties - ''županija'') กับ 1 เขตเมืองหลวง* จัดกลุ่มรายชื่อโดยแบ่งตามภูมิภาคทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์:
บรรทัด 134: บรรทัด 158:
|ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชีย (Central Croatia)
|ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชีย (Central Croatia)
|-
|-
| [[City of Zagreb]] || [[ซาเกร็บ]] ||style="text-align:right;padding-right:2px"|641|| style="text-align:right;padding-right:2px"|792,875
| [[เมืองซาเกร็บ]] || [[ซาเกร็บ]] ||style="text-align:right;padding-right:2px"|641|| style="text-align:right;padding-right:2px"|792,875
|-
|-
| [[เทศมณฑลซาเกร็บ]] || [[ซาเกร็บ]] || style="text-align:right;padding-right:2px"|3,078|| style="text-align:right;padding-right:2px"|317,642
| [[เทศมณฑลซาเกร็บ]] || [[ซาเกร็บ]] || style="text-align:right;padding-right:2px"|3,078|| style="text-align:right;padding-right:2px"|317,642
บรรทัด 182: บรรทัด 206:
| [[เทศมณฑลดูบรอฟนิก-เนเรตวา|ดูบรอฟนิก-เนเรตวา]] || [[ดูบรอฟนิก]] || style="text-align:right;padding-right:2px"|1,783|| style="text-align:right;padding-right:2px"|122,783
| [[เทศมณฑลดูบรอฟนิก-เนเรตวา|ดูบรอฟนิก-เนเรตวา]] || [[ดูบรอฟนิก]] || style="text-align:right;padding-right:2px"|1,783|| style="text-align:right;padding-right:2px"|122,783
|}
|}

== นโยบายต่างประเทศ ==
=== ความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรป ===
{{โครง-ส่วน}}

=== ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย ===
{{กล่องข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ|โครเอเชีย – ไทย|โครเอเชีย|ไทย|map=Croatia Thailand Locator.png}}
* ด้านการทูต
{{โครง-ส่วน}}

* การค้าและเศรษฐกิจ
{{โครง-ส่วน}}

* การท่องเที่ยว
{{โครง-ส่วน}}

== กองทัพ ==
{{บทความหลัก|กองทัพโครเอเชีย|การทหารของโครเอเชีย (แก้ความกำกวม)}}

=== กองกำลังกึ่งทหาร ===
{{โครง-ส่วน}}

== เศรษฐกิจ ==
== เศรษฐกิจ ==
* ในบรรดา[[สาธารณรัฐ]]ที่อยู่ภายใต้สหพันธ์สาธารณรัฐ[[ยูโกสลาเวี]] โครเอเชียมีสถานะทางเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ดี เป็นรองเพียง[[สโลวีเนีย]] เนื่องจากเป็นเขต[[อุตสาหกรรม]]ของสหพันธ์[[สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย]] รายได้ส่วนใหญ่ของโครเอเชียมาจาก[[การท่องเที่ยว]] เนื่องจาก[[ภูมิประเทศ]]เป็นชายฝั่ง[[ทะเลเอเดรียติก]]และมีหมู่[[เกาะ]]ที่สวยงาม ทำให้ในปัจจุบัน โครเอเชียจึงยังคงสภาวะเศรษฐกิจที่ดีกว่าประเทศอดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียส่วนใหญ่ นอกจากสโลวีเนีย ไว้ได้
* ในบรรดา[[สาธารณรัฐ]]ที่อยู่ภายใต้สหพันธ์สาธารณรัฐ[[ยูโกสลาเวีย]] โครเอเชียมีสถานะทางเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ดี เป็นรองเพียง[[สโลวีเนีย]] เนื่องจากเป็นเขต[[อุตสาหกรรม]]ของสหพันธ์[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย|สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย]] รายได้ส่วนใหญ่ของโครเอเชียมาจาก[[การท่องเที่ยว]] เนื่องจาก[[ภูมิประเทศ]]เป็นชายฝั่ง[[ทะเลเอเดรียติก]]และมีหมู่[[เกาะ]]ที่สวยงาม ทำให้ในปัจจุบัน โครเอเชียจึงยังคงสภาวะเศรษฐกิจที่ดีกว่าประเทศอดีตสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียส่วนใหญ่ นอกจากสโลวีเนีย ไว้ได้


* สำหรับนโยบายเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้แก่ [[การปฏิรูปเศรษฐกิจ]]ให้เป็น[[ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี]] ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจมากขึ้น ออกกฎหมายเพื่อส่งเสริม[[การค้าการลงทุนจากต่างประเทศ]] โดยได้ประกาศนโยบายที่มุ่งสร้างเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค รักษาเสถียรภาพของค่าเงินสกุล[[คูน่า]] (Kuna) คงระดับอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ใช้มาตรการดึงดูดคู่ค้าและนักลงทุนมากขึ้น รวมถึงการเร่งแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
* สำหรับนโยบายเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้แก่ [[การปฏิรูปเศรษฐกิจ]]ให้เป็น[[ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี]] ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจมากขึ้น ออกกฎหมายเพื่อส่งเสริม[[การค้าการลงทุนจากต่างประเทศ]] โดยได้ประกาศนโยบายที่มุ่งสร้างเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค รักษาเสถียรภาพของค่าเงินสกุล[[กูนา]] (Kuna) คงระดับอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ใช้มาตรการดึงดูดคู่ค้าและนักลงทุนมากขึ้น รวมถึงการเร่งแปรรูปรัฐวิสาหกิจ


=== การท่องเที่ยว ===
{{โครง-ส่วน}}


== โครงสร้างพื้นฐาน ==
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
=== คมนาคม และ โทรคมนาคม ===
=== คมนาคมและโทรคมนาคม ===
* รัฐบาลโครเอเชียยังมีโครงการสนับสนุนการลงทุนด้านท่าเรือ ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว เนื่องจากเห็นว่า การลงทุนด้านนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโครเอเชีย ช่วยให้เกิดการขนส่ง การก่อสร้าง[[ถนน]] [[ทางรถไฟ]] และธุรกิจบริการเกี่ยวกับบริษัทขนส่งสินค้าต่างๆ โดยรัฐบาลได้สนับสนุนเงินกู้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างถนนเชื่อมโยงกับเส้นทางของ[[ฮังการี]] ปรับปรุงทางรถไฟและสาธารณูปโภคอื่น ๆ ทั้งนี้ โครเอเชียมีชายฝั่งทะเลที่ยาวกว่า 5,000 กิโลเมตร และเต็มไปด้วยเกาะแก่งต่าง ๆ ถึง 1,185 เกาะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดการคมนาคมขนส่งทางน้ำเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งดูแลชายฝั่งทะเลซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจและการก่อสร้างถนนหนทางภาคพื้นดินภายในประเทศเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ำ โครเอเชียมีท่าเรือ Rijeka ใช้ขนถ่ายและกระจายสินค้าได้ มีโครงการปรับปรุงเส้นทางขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549 ซึ่งจะเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกที่รวดเร็วที่สุดระหว่างเอเชียและยุโรปกลาง
==== การคมนาคม ====
* [[รัฐบาลโครเอเชีย]]ยังมีโครงการสนับสนุนการลงทุนด้านท่าเรือ ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว เนื่องจากเห็นว่า การลงทุนด้านนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโครเอเชีย ช่วยให้เกิดการขนส่ง การก่อสร้าง[[ถนน]] [[ทางรถไฟ]] และธุรกิจบริการเกี่ยวกับบริษัทขนส่งสินค้าต่างๆ โดยรัฐบาลได้สนับสนุนเงินกู้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างถนนเชื่อมโยงกับเส้นทางของ[[ฮังการี]] ปรับปรุงทางรถไฟและสาธารณูปโภคอื่นๆ ทั้งนี้ โครเอเชียมีชายฝั่งทะเลที่ยาวกว่า 5,000 กิโลเมตร และเต็มไปด้วยเกาะแก่งต่างๆ ถึง 1,185 เกาะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดการคมนาคมขนส่งทางน้ำเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งดูแลชายฝั่งทะเลซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ และการก่อสร้างถนนหนทางภาคพื้นดินภายในประเทศเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ำ โครเอเชียมีท่าเรือ Rijeka ใช้ขนถ่ายและกระจายสินค้าได้ มีโครงการปรับปรุงเส้นทางขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549 ซึ่งจะเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกที่รวดเร็วที่สุดระหว่างเอเชียและยุโรปกลาง

==== โทรคมนาคม ====
{{โครง-ส่วน}}

=== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ===
{{โครง-ส่วน}}

=== การศึกษา ===
{{โครง-ส่วน}}

=== สาธารณสุข ===
{{โครง-ส่วน}}

=== สวัสดิการสังคม ===
{{โครง-ส่วน}}

== ประชากรศาสตร์ ==
=== เชื้อชาติ ===
=== เชื้อชาติ ===
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}
4.5 ล้านคน ประกอบด้วยชาวโครอัท (89.6%) ชาวเซิร์บ (4.54%) และอื่นๆ ได้แก่ ชาวบอสเนีย ฮังกาเรียน สโลวีน เช็ก (5.9%)
4.5 ล้านคน ประกอบด้วยชาวโครแอท (89.6%) ชาวเซิร์บ (4.54%) และอื่น ๆ ได้แก่ ชาวบอสเนีย ฮังการี สโลวีน เช็ก (5.9%)


=== ศาสนา ===
=== ศาสนา ===
{{บทความหลัก|ศาสนาในโครเอเชีย}}
{{บทความหลัก|ศาสนาในโครเอเชีย}}
{{bar box
{{bar box
|title=Religion in Croatia<ref name="Census2011-religion"/>
|title=ศาสนาในโครเอเชีย<ref name="Census2011-religion"/>
|titlebar=#ddd
|titlebar=#ddd
|left1=ศาสนา
|left1=religion
|right1=เปอร์เซ็นต์
|right1=percent
|float=right
|float=right
|bars=
|bars=
{{bar percent|[[โรมันคาทอลิก]]|DarkGray|86.3}}
{{bar percent|[[โรมันคาทอลิก]]|DarkGray|86.3}}
{{bar percent|[[ออร์ทอดอกซ์]]|MediumAquamarine|6.7}}
{{bar percent|[[ออร์ทอดอกซ์]]|MediumAquamarine|6.7}}
{{bar percent|[[Atheism]] or [[Agnosticism]]|Yellow|4.4}}
{{bar percent|[[อเทวนิยม]]|Yellow|4.4}}
{{bar percent|[[โปรเตสแตนต์]]|Green|1.5}}
{{bar percent|[[โปรเตสแตนต์]]|Green|1.5}}
{{bar percent|[[อิสลาม]]|Orange|0.3}}
{{bar percent|[[อิสลาม]]|Orange|0.3}}
{{bar percent|อื่นๆ และ ไม่นับถือศาสนา|Lavender|0.4}}
{{bar percent|อื่น ๆ และ ไม่นับถือศาสนา|Lavender|0.4}}
}}
}}

=== ภาษา ===
{{บทความหลัก|ภาษาในโครเอเชีย}}

=== กีฬา ===
{{บทความหลัก|โครเอเชียในโอลิมปิก|โครเอเชียในพาราลิมปิก}}

==== ฟุตบอล ====
{{บทความหลัก| สมาพันธ์ฟุตบอลโครเอเชีย|ฟุตบอลทีมชาติโครเอเชีย|ฟุตซอลทีมชาติโครเอเชีย}}
{{โครง-ส่วน}}

==== วอลเลย์บอล ====
{{บทความหลัก|สมาพันธ์วอลเลย์บอลโครเอเชีย|วอลเลย์บอลทีมชาติโครเอเชีย}}
{{โครง-ส่วน}}

== วัฒนธรรม ==
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมโครเอเชีย}}

=== สถาปัตยกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}

=== วรรณกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}

=== อาหาร ===
=== อาหาร ===
{{โครง-ส่วน}}อาหารพื้นเมืองของชาวโครแอตไม่ต่างจากอาหารแบบยุโรปโดยทั่วไป ในกรุงชาเกร็บมีร้านอาหารให้เลือกมากมาย ที่เป็นเอกลักษณ์ก็คือร้านกาแฟในสไตล์ Side-Walk Cafe ที่เน้นการเสพบรรยากาศดี ๆ เคล้ากาแฟรสละมุนลิ้น ส่วนเมนูอร่อยที่ควรชิมก็คือไส้กรอก Spek และ Kulen ซึ่งเป็นอาหารเฉพาะถิ่น ในขณะที่ขนมหวานขึ้นชื่อของโครเอเชียก็คือคุกกี้รูปหัวใจเคลือบน้ำตาลสีแดงที่มีรสชาติหวานมันลงตัว
{{โครง-ส่วน}}อาหารพื้นเมืองของชาวโครแอตไม่ต่างจากอาหารแบบยุโรปโดยทั่วไป ในกรุงชาเกร็บมีร้านอาหารให้เลือกมากมาย ที่เป็นเอกลักษณ์ก็คือร้านกาแฟในสไตล์ Side-Walk Cafe ที่เน้นการเสพบรรยากาศดี ๆ เคล้ากาแฟรสละมุนลิ้น ส่วนเมนูอร่อยที่ควรชิมก็คือไส้กรอก Spek และ Kulen ซึ่งเป็นอาหารเฉพาะถิ่น ในขณะที่ขนมหวานขึ้นชื่อของโครเอเชียก็คือคุกกี้รูปหัวใจเคลือบน้ำตาลสีแดงที่มีรสชาติหวานมันลงตัว


== หมายเหตุ ==
=== ดนตรี ===
{{notelist|group=efn}}
{{โครง-ส่วน}}
{{clear}}

=== สื่อสารมวลชน ===
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในโครเอเชีย}}

=== วันหยุด ===
{{บทความหลัก|รายชื่อวันสำคัญของโครเอเชีย}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง|30em}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.mfa.go.th/web/848.php?id=57 ประเทศโครเอเชีย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090304015956/http://www.mfa.go.th/web/848.php?id=57 |date=2009-03-04 }} จากเว็บไซต์กระทรวงต่างประเทศ
{{จบอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{sisterlinks|Croatia}}
{{Sister project links|voy=Croatia}}
* {{ฟลิคเกอร์|Croatia}}
* {{wikivoyage-inline|Croatia}}


* [http://www.vlada.hr/en เว็บไซต์รัฐบาล]
* [https://www.cia.gov/the-world-factbook/countries/croatia/ Croatia]. ''[[The World Factbook]]''. [[Central Intelligence Agency]].
* [https://web.archive.org/web/20080905115052/http://ucblibraries.colorado.edu/govpubs/for/croatia.htm Croatia] from ''UCB Libraries GovPubs''
* [http://croatia.hr Croatia.hr] Official website of the Croatian National Tourist Board
* [https://web.archive.org/web/20180713115022/http://www.thisiscroatia.hr/#!/home This is Croatia]
* {{curlie|Regional/Europe/Croatia}}
* [http://www.visit-croatia.co.uk/ Visit Croatia – a travel guide]
* {{Wikiatlas|Croatia}}
* {{osmrelation-inline|214885|bullet=no}}
* [http://www.ifs.du.edu/ifs/frm_CountryProfile.aspx?Country=HR Key Development Forecasts for Croatia] from [[International Futures]]


{{Navboxes
|list =
{{ยุโรป}}
{{ยุโรป}}
{{อียู}}
{{อียู}}
{{นาโต}}
{{นาโต}}
{{UNSC}}
{{UNSC}}
{{ลาฟร็องกอฟอนี|state=collapsed}}
{{ลำดับเหตุการณ์ของยูโกสลาเวีย}}
{{ลำดับเหตุการณ์ของยูโกสลาเวีย}}
}}
{{Authority control}}


[[หมวดหมู่:ประเทศโครเอเชีย| ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศโครเอเชีย| ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:56, 11 มีนาคม 2567

45°10′N 15°30′E / 45.167°N 15.500°E / 45.167; 15.500

สาธารณรัฐโครเอเชีย

Republika Hrvatska (โครเอเชีย)
ที่ตั้งของ ประเทศโครเอเชีย  (เขียวเข้ม)

– ในยุโรป  (เขียว & เทาเข้ม)
– ในสหภาพยุโรป  (เขียว)

เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
ซาเกร็บ
45°48′N 16°0′E / 45.800°N 16.000°E / 45.800; 16.000
ภาษาราชการโครเอเชีย[a]
ระบบการเขียนละติน
กลุ่มชาติพันธุ์
(2011[4])
ศาสนา
(ค.ศ. 2011)
การปกครองรัฐเดี่ยว สาธารณรัฐระบบรัฐสภา
ซอรัน มีลานอวิช
อันเดรย์ เปลงกอวิช
กอร์ดัน ยันดรอกอวิช
สภานิติบัญญัติSabor
ก่อตั้ง
คริสต์ศตวรรษที่ 9
ค.ศ. 925
ค.ศ. 1102
1 มกราคม ค.ศ. 1527
29 ตุลาคม ค.ศ. 1918
4 ธันวาคม ค.ศ. 1918
25 มิถุนายน ค.ศ. 1991[5]
12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995
1 กรกฎาคม ค.ศ. 2013
พื้นที่
• รวม
56,594 ตารางกิโลเมตร (21,851 ตารางไมล์) (อันดับที่ 124)
1.09
ประชากร
• ค.ศ. 2021 ประมาณ
ลดลงเป็นกลาง 3,888,529[6] (อันดับที่ 128)
• สำมะโนประชากร ค.ศ. 2011
4,284,889[7]
73 ต่อตารางกิโลเมตร (189.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 109)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) ค.ศ. 2022 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น145 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ [1] (อันดับที่ 80)
เพิ่มขึ้น 36,201 ดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 49)
จีดีพี (ราคาตลาด) ค.ศ. 2022 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 69.45 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 81)
เพิ่มขึ้น 17,337 ดอลลาร์สหรัฐ [2] (อันดับที่ 66)
จีนี (ค.ศ. 2020)positive decrease 28.3[8]
ต่ำ
เอชดีไอ (ค.ศ. 2019)เพิ่มขึ้น 0.851[9]
สูงมาก · อันดับที่ 43
สกุลเงินยูโร (€) (EUR)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (CEST)
รูปแบบวันที่วว. ดด. ปปปป. (ค.ศ.)
ขับรถด้านขวามือ
รหัสโทรศัพท์+385
โดเมนบนสุด

โครเอเชีย (อังกฤษ: Croatia; โครเอเชีย: Hrvatska, ออกเสียง: [xř̩ʋaːtskaː]) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (อังกฤษ: Republic of Croatia; โครเอเชีย: Republika Hrvatska, เสียงอ่านภาษาโครเอเชีย: [ˈrepǔblika ˈxř̩ʋaːtskaː]) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บนทางแยกกลางระหว่างยุโรปกลาง และตะวันออกเฉียงใต้ แนวชายฝั่งของประเทศตั้งอยู่บริเวณทะเลเอเดรียติก มีชายแดนติดกับสโลวีเนียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ฮังการีทางตะวันออกเฉียงเหนือ เซอร์เบียทางตะวันออก บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และมอนเตเนโกรทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงมีขอบเขตทางทะเลติดต่อกับอิตาลีทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ โครเอเชียมีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือซาเกร็บ เป็นหนึ่งในเขตการปกครองหลักของประเทศ โดยแบ่งเป็น 20 เทศมณฑล ประเทศมีขนาดพื้นที่ 56,594 ตารางกิโลเมตร (21,851 ตารางไมล์) มีประชากรราว 3.9 ล้านคน[11]

ชาวโครแอตซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวโครเอเชียเข้ามาตั้งรกรากบริเวณปัจจุบันเมื่อปลายศตวรรษที่ 6 ซึ่งขณะนั้นดินแดนส่วนใหญ่ยังเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคอิลิเรีย อาณาเขตทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็นสองดัชชีในศตวรรษที่ 7[12] โครเอเชียได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน ค.ศ. 879 ในรัชสมัยของดยุกมันซิเมียร์แห่งโครเอเชียซึ่งครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 879 ถึง 892 ต่อมา พระเจ้าตอมิสลัฟที่ 1 แห่งโครเอเชียกลายเป็นปฐมกษัตริย์แห่งโครเอเชียใน ค.ศ. 925 และได้ขยายอาณาเขตและความรุ่งเรืองจนกลายเป็นอาณาจักร ในช่วงวิกฤติการสืบราชสันตติวงศ์หลังจากราชวงศ์ตรีปิมิโรวิชสิ้นสุดลง โครเอเชียและฮังการีได้กลายเป็นรัฐร่วมประมุขใน ค.ศ. 1102 ต่อมาใน ค.ศ. 1527 โครเอเชียต้องเผชิญกับสงครามโครเอเชีย–ออตโตมันร้อยปี รัฐสภาโครเอเชียมีมติเลือกจักรพรรดิแฟร์ดีนันท์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นครองบัลลังก์

ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1918 รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บได้ถือกำเนิดขึ้นในช่วงสั้น ๆ ภายหลังการยุบตัวของจักรวรรดิภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ความเป็นอิสระจากออสเตรียและฮังการีได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการ ณ เมืองซาเกร็บในเดือนธันวาคมปีเดียวกันนั้น ดินแดนทั้งหมดถูกควบรวมเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ภายหลังการบุกครองยูโกสลาเวียโดยฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่สอง ดินแดนส่วนใหญ่ได้กลายเป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนีในนามรัฐเอกราชโครเอเชีย ขบวนการต่อต้านเผด็จการนำไปสู่การสถาปนาสาธารณรัฐสังคมนิยมโครเอเชีย ซึ่งภายหลังสงครามได้กลายมาเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งและเป็นองค์ประกอบของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ต่อมาในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1991 มีการออกเสียงประชามติรับรองเอกราช และสงครามประกาศอิสรภาพโครเอเชียประสบความสำเร็จในเวลาสี่ปี ส่งผลให้ประเทศได้รับเอกราชถาวร และเป็นที่รู้จักในชื่อ "สาธารณรัฐโครเอเชีย" มาถึงปัจจุบัน

โครเอเชียเป็นสาธารณรัฐด้วยระบบรัฐสภา และปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยเสรีนิยม เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป, ยูโรโซน, พื้นที่เชงเกน, เนโท, สภายุโรป, องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป, องค์การการค้าโลก, สหประชาชาติ รวมทั้งเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสหภาพเมดิเตอร์เรเนียน ปัจจุบันโครเอเชียอยู่ระหว่างการยื่นขอเป็นสมาชิกองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา และมีส่วนร่วมในการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ รวมทั้งกองกำลังช่วยเหลือความมั่นคงระหว่างประเทศ และได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งไม่ถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเป็นครั้งแรกระหว่าง ค.ศ. 2008–2009

โครเอเชียเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีรายรับสูงตามการจัดอันดับโดยธนาคารโลก ประเทศนี้อยู่ในอันดับ 40 ตามดัชนีการพัฒนามนุษย์[13] รายได้หลักมาจากการบริการ, ภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม ในขณะที่การท่องเที่ยวเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวเข้ามาเกือบ 20 ล้านคนใน ค.ศ. 2019[14][15][16] นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 รัฐบาลโครเอเชียเน้นการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมและสิ่งอำนวยความสะดวกตามแนวเส้นทางข้ามทวีปยุโรป และได้กลายเป็นผู้นำด้านพลังงานในภูมิภาคตั้งแต่ทศวรรษ 2020 โดยมีส่วนสำคัญในการสนับสนุนการกระจายพลังงานในทวีปยุโรป ผ่านคลังเก็บก๊าซธรรมชาติซึ่งตั้งอยู่บริเวณรอบนอกเกาะเกิร์ก โครเอเชียมีระบบประกันสังคมที่มีคุณภาพ รวมถึงการดูแลสุขภาพโดยถ้วนหน้า เยาวชนมีสิทธิขั้นพื้นฐานในการศึกษาตั้งแต่ระดับประถมถึงมัธยมโดยไม่เสียค่าเล่าเรียน ในขณะเดียวกันรัฐบาลมีการปลูกฝังค่านิยมทางวัฒนธรรมผ่านสถาบัน และลงทุนในด้านสื่อและสิ่งพิมพ์

ภูมิศาสตร์[แก้]

โครเอเชียตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคยุโรปกลาง ภูมิภาคยุโรปใต้ และภูมิภาคยุโรปตะวันออก รูปร่างของประเทศคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยวหรือเกือกม้า ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ สโลวีเนีย ฮังการี เซอร์เบีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และอิตาลี (อีกฟากหนึ่งของทะเลเอเดรียติก) โดยแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนไม่ติดต่อกันโดยชายฝั่งทะเลสั้น ๆ ของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รอบ ๆ เมืองเนอุม (Neum)

ภูมิประเทศของโครเอเชียมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่

  • ที่ราบ ทะเลสาบ และเนินเขา ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชียและสลาโวเนีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบพันโนเนีย)
  • ภูเขาที่มีป่าไม้หนาแน่นในภูมิภาคลีคาและกอร์สกีคอตาร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาดินาริกแอลป์
  • ชายฝั่งทะเลเอเดรียติกที่เต็มไปด้วยโขดหิน (ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และแดลเมเชีย)

ประวัติศาสตร์[แก้]

ยุคก่อนประวัติศาสตร์[แก้]

พื้นที่ที่รู้จักกันในปัจจุบันในนามโครเอเชียได้ดำรงอยู่ตลอดตั้งแต่ช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ ฟอสซิลของมนุษย์ยุคหินในยุคพาเลโอลิธิคถูกขุดค้นพบในที่ตั้งเมืองที่โด่งดังและเป็นที่ถูกนำเสนอมากที่สุดอยู่ที่เมืองคราปินาในทางตอนเหนือของประเทศโครเอเชีย เศษซากของวัฒนธรรมนีโอลิธิคและคัลโคลิธิคมากมายถูกค้นพบในทุกบริเวณของประเทศ สัดส่วนที่ใหญ่สุดของที่เมืองคราปินาคือหุบเขาแม่น้ำของทางตอนเหนือของประเทศโครเอเชีย และวัฒนธรรมสำคัญที่ถูกค้นพบในบริเวณนั้น ได้แก่ วัฒนธรรมสตาร์เชโว วูเชดอล และบาเดน ต่อมาช่วงยุคเหล็กได้เหลือร่องรอยวัฒนธรรมฮัลชตัตต์อิลลิเรียและวัฒนธรรมเซลติกลาเทน

ยุคกรีกโรมัน[แก้]

หลังจากนั้น ชาวอิลลิเรียและชาวลิบูร์เนียได้ตั้งรกรากในบริเวณนี้ ในขณะที่อาณานิคมกรีกแห่งแรกถูกก่อตั้งขึ้นในเกาะฮวาร์ เกาะคอร์ชูลา และเกาะวิส ในคริสต์ศักราชที่ 9 อาณาเขตของประเทศโครเอเชียในปัจจุบันได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน จักรพรรดิดีโอเคลเตียนมีปราสาทใหญ่ที่สร้างขึ้นในเมืองสปลิต ซึ่งพระองค์ได้ถอนตัวหลังจากสละราชสมบัติในคริสต์ศักราชที่ 309

ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรพรรดิจูเลียส เนโปสปกครองดินแดนเล็ก ๆ จากปราสาท หลังจากอพยพจากประเทศอิตาลี เนื่องจากการถูกเนรเทศในปี 475 ภายหลังได้ถูกลอบปลงพระชนม์ในปี ค.ศ. 480 ในช่วงยุคนี้ได้จบลงที่ชาวอวาร์และชาวโครแอตได้บุกรุกในครึ่งปีแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 7 และการล่มสลายของเมืองโรมัน ชาวโรมันที่รอดชีวิตได้หนีไปยังในที่ที่เหมาะสม อย่างในชายฝั่ง เกาะ และภูเขา เมืองดูบรอฟนิกถูกตั้งขึ้นโดยผู้รอดชีวิตจากเอปิดาอูรุม (Epidaurum)

แหล่งกำเนิดชนกลุ่มชาวโครแอตยังไม่แน่นอนและมีหลากหลายทฤษฎีที่โต้เถียงกัน ชนชาติสลาฟและอิเรเนียนเป็นทฤษฎีที่กล่าวถึงบ่อยที่สุด ทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางคือทฤษฎีชาวสลาฟ เสนอการอพยพของชาวไวต์โครแอตจากอาณาเขตของไวต์โครเอเชียระหว่างในยุคการอพยพ โดยทางตรงกันข้าม ทฤษฎีชาวอิเรเนียน เสนอที่มาของชาวอิเรเนียน โดยมีพื้นฐานจากแผ่นจารึกทานาย ซึ่งมีข้อความที่จารึกชื่อเป็นภาษากรีก Χορούαθ[ος], Χοροάθος, and Χορόαθος (Khoroúathos, Khoroáthos, and Khoróathos) และตีความได้เป็นชื่อของชาวโครเอเชีย

ราชวงศ์ฮับส์บูร์กและออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1538–1918)[แก้]

หลังจากชัยชนะที่เด็ดขาดของออตโตมัน โครเอเชียได้แยกเป็นอาณาเขตพลเมืองและอาณาเขตทางทหาร ซึ่งแบ่งแยกในปี ค.ศ. 1538 อาณาเขตทางทหารกลายเป็นที่รู้จักกันใน "แนวหน้ากองทหารโครเอเชีย" (Croatian Military Frontier) และอยู่ภายใต้การควบคุมของจักรวรรดิโดยตรง ออตโตมันได้รุดหน้าไปในอาณาเขตของโครเอเชียต่อไปจนถึงปี ค.ศ. 1593 ศึกของซีซีค เป็นการพ่ายแพ้ของชาวออตโตมันครั้งแรก และการรักษาเสถียรภาพของเขตแดน ในระหว่างสงครามเติร์กครั้งยิ่งใหญ่ (ค.ศ. 1683-1698) เขตสลาโวเนียได้ถูกยึดคืนมา แต่ทางตะวันตกของบอสเนีย ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของโครเอเชียมาตลอด ก่อนที่ออตโตมันจะพิชิตได้ ยังคงอยู่นอกการปกครองของโครเอเชีย เขตแดนในปัจจุบันระหว่างสองประเทศนี้เป็นเศษซากของผลการพิชิตนี้ ดัลมาเชีย ชายแดนทางตอนใต้ของประเทศถูกนิยามใกล้เคียงกัน โดยสงครามออตโตมัน-เวเนเชียนครั้งที่ห้าและครั้งที่เจ็ด

สงครามออตโตมันกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางประชาการอย่างมาก ชาวโครแอตอพยพไปยังออสเตรีย และรัฐเบอร์เกนแลนด์ในปัจจุบัน ซึ่งชาวโครแอตเป็นลูกหลานโดยตรงของผู้ที่ไปอาศัยเหล่านั้น เพื่อแทนที่การอพยพของประชากร ราชวงศ์ฮับส์บูร์กโน้มน้าวประชาชนชาวคริสเตียนของบอสเนียและเซอร์เบียเข้าร่วมรับราชการทางทหารในแนวหน้าทางทหารของโครเอเชีย การอพยพของชาวเซิร์บไปยังแถบนี้ถึงขั้นขีดสุดในระหว่างช่วงการอพยพของชาวเซิร์บครั้งใหญ่ในปี ค.ศ. 1690 และ ค.ศ. 1737-1739

รัฐสภาของโครเอเชียสนับสนุนกฎการสืบราชบัลลังก์ของพระเจ้าชาร์ลที่ 3 และเซ็นสัญญากฎการสืบราชบังลังก์ของพวกเขาในปี 1712 ต่อมาจักรพรรดิปฏิญาณที่จะพิจารณาสิทธิพิเศษและสิทธิทางการเมืองของราชอาณาจักรโครเอเชีย และพระราชินีมาเรีย เทเรซา สร้างคุณูปการที่สำคัญในเรื่องของโครเอเชีย

ระหว่างใน ค.ศ. 1797 และ ค.ศ. 1809 จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่งค่อย ๆ ยึดครองทางตะวันออกของชายฝั่งเอเดรียติกทั้งหมดและส่วนใหญ่ของพื้นที่ชนบท สิ้นสุดที่บริเวณสาธารณรัฐเวเนเชียนและสาธารณรัฐรากูซัน และก่อตั้งมลรัฐอิลลิเรีย เพื่อตอบสนองราชนาวีที่เริ่มการปิดล้อมทะเลเอเดรียติก นำไปสู่ศึกวิส (Battle of Vis) ในปี 1811 มลรัฐอิลลิเรียถูกยึดครองโดยชาวออสเตรียในปี 1813 และถูกรวมโดยจักรวรรดิออสเตรีย ตามด้วยรัฐสภาของเวียนนาในปี 1815 การถูกรวมนี้นำไปสู่การก่อตั้งอาณาจักรดัลมาเชียและการบูรณะบบบริเวณชายฝั่งของโครเอเชียให้แก่ราชอาณาจักรโครเอเชีย ในตอนนี้ทั้งสองได้อยู่ภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน ในช่วงปี 1830 และช่วงปี 1840 มีลัทธิรักชาติแบบโรแมนติกกระตุ้นการฟื้นฟูโครเอเชียระดับชาติ การรณรงค์ทางการเมืองและทางวัฒนธรรมสนับสนุนการเป็นหนึ่งเดียวของชาวสลาฟใต้ในจักรวรรดิ จุดสนใจพื้นฐานของทางจักรวรรดิคือ การกำหนดภาษามาตรฐาน รวมไปถึงการส่งเสริมวรรณกรรมโครเอเชียและวัฒนธรรมโครเอเชีย ในระหว่างการปฏิวัติฮังการี ในปี 1848 โครเอเชียได้อยู่ฝ่ายออสเตรีย ยอซิป เยลาชิช ช่วยในการต่อสู้รบกับกองกำลังฮังการีในปี 1849 และนำไปสู่ยุคนโยบายการทำให้เป็นเยอรมัน (Germanization) ในเวลาต่อไปมา

ในปี 1860 ความล้มเหลวของนโยบายเริ่มชัดเจนขึ้น นำไปสู่การประนีประนอมของออสเตรีย-ฮังการีของปี 1867 และการสร้างการรวมตัวระหว่างบุคคลระหว่างจุดสูงสุดของจักรวรรดิออสเตรียและราชอาณาจักรฮังการี สนธิสัญญาทิ้งสถานะของโครเอเชียให้กับฮังการี และสถานะเปลี่ยนโดยข้อยุติโครเอเชีย-ฮังการี ในปี 1868 เมื่อราชอาณาจักรโครเอเชียและสลาโวเนียได้รวมเป็นหนึ่งเดียว ราชอาณาจักรดัลมาเชียยังคงเป็นอยู่ในการปกครองของออสเตรียทางพฤตินัย ขณะที่รีเยกา (Rijeka) ได้รับสถานะเมืองแยกตัว (Corpus separatum) ในปี 1779

หลังจากออสเตรีย-ฮังการียึดครองบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาจากสนธิสัญญาเบอร์ลิน แนวหน้าทางทหารโครเอเชียถูกโค่นล้ม และอาณาเขตได้กลับคืนเป็นของโครเอเชียใน ค.ศ. 1881 ตามบทบัญญัติข้อยุติของโครเอเชีย-ฮังการี ความพยายามในการรื้อฟื้นออสเตรีย-ฮังการีที่นำมาซึ่งไปสู่การรวมโครเอเชียในฐานะหน่วยสหพันธรัฐ หยุดโดยการเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1

ยูโกลสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1991)[แก้]

วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1918 รัฐสภาโครเอเชีย (Sabor) ประกาศเอกราชและตัดสินใจที่จะเข้าร่วมรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งใหม่ ซึ่งภายหลังได้รวมเป็นหนึ่งเดียวกับราชอาณาจักรเซอร์เบียในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1918 จึงได้ชื่อใหม่ว่า ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน ทางสภาโครเอเชียไม่เคยยื่นข้อเสนอในการรวมกับเซอร์เบียและมอนเตเนโกร รัฐธรรมนูญปี ค.ศ. 1921 กำหนดให้ประเทศเป็นรัฐเดี่ยว แล้วยกเลิกระบบสภาของโครเอเชียและเขตการปกครองทางประวัติศาสตร์ ส่งผลให้การปกครองตนเองของโครเอเชียได้สิ้นสุดไป

รัฐธรรมนูญใหม่ขัดแย้งกับพรรคการเมืองแห่งชาติที่มีการสนับสนุนโดยกว้าง คือพรรค Croatian Peasant Party (HSS) นำโดย สเตฟาน ราดิช

สถานการณ์ทางการเมืองย่ำแย่ลงเมื่อราดิชถูกลอบสังหารในสมัชชาแห่งชาติใน ค.ศ. 1928 นำไปสู่ยุคเผด็จการของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ใน ค.ศ. 1929 ต่อมายุคเผด็จการได้สิ้นสุดลงอย่างทางการใน ค.ศ. 1931 เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์กำหนดรัฐธรรมนูญที่รวมศูนย์กลางไว้แห่งเดียวและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นประเทศยูโกสลาเวีย พรรค Croatian Peasant (HSS) สนับสนุนการรวมสหพันธรัฐยูโกสลาเวีย ทำให้เป็นผลของข้อตกลง Cvetković–Maček ของเดือนสิงหาคม ปี 1939 และการก่อตั้งเขตการปกครองตนเองบาโนวีนา (Banovina) ในโครเอเชีย รัฐบาลยูโกสลาเวียยังคงควบคุมการป้องกันตัวเอง สวัสดิการภายใน การค้า และการขนส่ง ขณะที่ปัญหาอื่น ๆ เหลือให้ทางสภาโครเอเชียจัดการ

ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1941 ยูโกสลาเวียอยู่ภายใต้การควบคุมของนาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลี ตามด้วยการบุกรุกอาณาเขตของประเทศโครเอเชีย ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และพื้นที่เซอร์เมียถูกผนวกรวมเป็นรัฐเอกราชโครเอเชีย (Independent State of Croatia – NDH) ซึ่งเป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี พื้นที่ฝั่งดัลมาเชียถูกผนวกรวมกับอิตาลี และพื้นที่บารันยา (Baranja) และเมจิมูเรีย (Međimurje) ในทางตอนเหนือของโครเอเชีย ได้ถูกผนวกรวมเข้ากับฮังการี รัฐเอกราชโครเอเชียปกครองโดย อานเต ปาเลวิช และกลุ่มคลั่งชาติอูสตาเช (Ustaše)

ร่วมสมัย[แก้]

การเมืองการปกครอง[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

โครเอเชียแบ่งออกเป็น 20 เทศมณฑล (counties - županija) กับ 1 เขตเมืองหลวง* จัดกลุ่มรายชื่อโดยแบ่งตามภูมิภาคทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์: แม่แบบ:Croatian counties

เทศมณฑล Seat พื้นที่ (km²) ประชากร
2011 Census
ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชีย (Central Croatia)
เมืองซาเกร็บ ซาเกร็บ 641 792,875
เทศมณฑลซาเกร็บ ซาเกร็บ 3,078 317,642
บีเยลอวาร์-บีลอกอรา บีลอกอรา 2,652 119,743
คาร์โลวัตส์ คาร์โลวัตส์ 3,622 128,749
วาราชดีน วาราชดีน 1,261 176,046
คอพรีฟนีตซา-ครีเชฟต์ซี คอพรีฟนีตซา 1,746 115,582
คราพีนา-ซากอเรีย คราพีนา 1,224 133,064
ซีซาค-มอสลาวีนา ซีซาค 4,463 172,977
เมดจีมูเรีย Čakovec 730 114,414
ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และ เมาน์เทนัสโครเอเชีย
ลีคา-เซนย์ Gospić 5,350 51,022
พรีมอเรีย-กอร์สกีคอตาร์ รีเยกา 3,582 296,123
อิสเตรีย Pazin 2,820 208,440
ภูมิภาคสลาโวเนีย (Slavonia)
วีรอวีตีตซา-พอดราวีนา พอดราวีนา 2,068 84,586
พอเชกา-สลาโวเนีย พอเชกา 1,845 78,031
บรอด-พอซาวีนา Slavonski Brod 2,043 158,559
โอซีเยก-บารานยา โอซีเยก 4,152 304,899
ซีร์เมีย วูคอวาร์ 2,448 180,117
ภูมิภาคดัลเมเชีย (Dalmatia)
ซาดาร์ ซาดาร์ 3,642 170,398
ชีเบนิค-คนีน ชิเบนีก 2,939 109,320
สปลิต-ดัลเมเชีย สปลิต 4,534 455,242
ดูบรอฟนิก-เนเรตวา ดูบรอฟนิก 1,783 122,783

เศรษฐกิจ[แก้]

  • สำหรับนโยบายเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้แก่ การปฏิรูปเศรษฐกิจให้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจมากขึ้น ออกกฎหมายเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนจากต่างประเทศ โดยได้ประกาศนโยบายที่มุ่งสร้างเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค รักษาเสถียรภาพของค่าเงินสกุลกูนา (Kuna) คงระดับอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ใช้มาตรการดึงดูดคู่ค้าและนักลงทุนมากขึ้น รวมถึงการเร่งแปรรูปรัฐวิสาหกิจ


โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

คมนาคมและโทรคมนาคม[แก้]

  • รัฐบาลโครเอเชียยังมีโครงการสนับสนุนการลงทุนด้านท่าเรือ ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว เนื่องจากเห็นว่า การลงทุนด้านนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโครเอเชีย ช่วยให้เกิดการขนส่ง การก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และธุรกิจบริการเกี่ยวกับบริษัทขนส่งสินค้าต่างๆ โดยรัฐบาลได้สนับสนุนเงินกู้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างถนนเชื่อมโยงกับเส้นทางของฮังการี ปรับปรุงทางรถไฟและสาธารณูปโภคอื่น ๆ ทั้งนี้ โครเอเชียมีชายฝั่งทะเลที่ยาวกว่า 5,000 กิโลเมตร และเต็มไปด้วยเกาะแก่งต่าง ๆ ถึง 1,185 เกาะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดการคมนาคมขนส่งทางน้ำเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งดูแลชายฝั่งทะเลซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจและการก่อสร้างถนนหนทางภาคพื้นดินภายในประเทศเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ำ โครเอเชียมีท่าเรือ Rijeka ใช้ขนถ่ายและกระจายสินค้าได้ มีโครงการปรับปรุงเส้นทางขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549 ซึ่งจะเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกที่รวดเร็วที่สุดระหว่างเอเชียและยุโรปกลาง

เชื้อชาติ[แก้]

4.5 ล้านคน ประกอบด้วยชาวโครแอท (89.6%) ชาวเซิร์บ (4.54%) และอื่น ๆ ได้แก่ ชาวบอสเนีย ฮังการี สโลวีน เช็ก (5.9%)

ศาสนา[แก้]

ศาสนาในโครเอเชีย[17]
ศาสนา เปอร์เซ็นต์
โรมันคาทอลิก
  
86.3%
ออร์ทอดอกซ์
  
6.7%
อเทวนิยม
  
4.4%
โปรเตสแตนต์
  
1.5%
อิสลาม
  
0.3%
อื่น ๆ และ ไม่นับถือศาสนา
  
0.4%

อาหาร[แก้]

อาหารพื้นเมืองของชาวโครแอตไม่ต่างจากอาหารแบบยุโรปโดยทั่วไป ในกรุงชาเกร็บมีร้านอาหารให้เลือกมากมาย ที่เป็นเอกลักษณ์ก็คือร้านกาแฟในสไตล์ Side-Walk Cafe ที่เน้นการเสพบรรยากาศดี ๆ เคล้ากาแฟรสละมุนลิ้น ส่วนเมนูอร่อยที่ควรชิมก็คือไส้กรอก Spek และ Kulen ซึ่งเป็นอาหารเฉพาะถิ่น ในขณะที่ขนมหวานขึ้นชื่อของโครเอเชียก็คือคุกกี้รูปหัวใจเคลือบน้ำตาลสีแดงที่มีรสชาติหวานมันลงตัว

หมายเหตุ[แก้]

  1. นอกจากภาษานี้ ยังมีภาษาประจำภูมิภาคที่มีการใช้งานในบางเทศมณฑล เช่น เทศมณฑลอิสเตรียมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาอิตาลี[1][2] และมีหลายเทศมณฑลติดกับประเทศเซอร์เบียที่พูดภาษาเซอร์เบียมาตรฐาน[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Europska povelja o regionalnim ili manjinskim jezicima" (ภาษาโครเอเชีย). Ministry of Justice and Public Administration (Croatia). 4 November 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 December 2013. สืบค้นเมื่อ 1 December 2018.
  2. "Population by Mother Tongue, by Towns/Municipalities, 2011 Census". Census of Population, Households and Dwellings 2011. Zagreb: Croatian Bureau of Statistics. December 2012.
  3. "Is Serbo-Croatian a language?". The Economist (ภาษาอังกฤษ). 10 April 2017. สืบค้นเมื่อ 1 December 2018.
  4. "Population by Ethnicity, by Towns/Municipalities, 2011 Census". Census of Population, Households and Dwellings 2011. Zagreb: Croatian Bureau of Statistics. December 2012.
  5. "Zakon o blagdanima, spomendanima i neradnim danima u Republici Hrvatskoj" [Law of Holidays, Memorial Days and Non-Working Days in the Republic of Croatia]. Narodne Novine (ภาษาโครเอเชีย). 15 November 2019. สืบค้นเมื่อ 31 May 2021.
  6. "Census of population, households and dwellings in 2021 - First results". Croatian Bureau of Statistics. 14 January 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-30. สืบค้นเมื่อ 15 January 2022.
  7. "Population by Age and Sex, by Settlements, 2011 Census". Census of Population, Households and Dwellings 2011. Zagreb: Croatian Bureau of Statistics. December 2012.
  8. "Gini coefficient of equivalised disposable income – EU-SILC survey". ec.europa.eu. Eurostat. สืบค้นเมื่อ 9 August 2021.
  9. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  10. "Hrvatski sabor – Povijest". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 March 2018. สืบค้นเมื่อ 10 March 2018.
  11. "Croatia Population (2023) - Worldometer". www.worldometers.info (ภาษาอังกฤษ).
  12. "Croatian :: Ngati Tarara 'The Olive and Kauri'". www.croatianclub.org.
  13. "World Economic Outlook Database". IMF (ภาษาอังกฤษ).
  14. "Croatia tourist arrivals 2022". Statista (ภาษาอังกฤษ).
  15. "World Bank Open Data". World Bank Open Data.
  16. Nast, Condé (2019-10-07). "Top 20 Countries in the World: Readers' Choice Awards 2023". Condé Nast Traveler (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Census2011-religion

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]