ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามท่าดินแดง"
เพิ่มวันที่ |
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
(ไม่แสดง 15 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 12 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{เพิ่มอ้างอิง}} |
{{เพิ่มอ้างอิง}} |
||
{{กล่องข้อมูล ความขัดแย้งทางทหาร |
{{กล่องข้อมูล ความขัดแย้งทางทหาร |
||
| image = Chintawannakhadi (p 527).jpg |
|||
⚫ | |||
| image_size = 250px |
|||
| alt = |
|||
| caption = ภาพวาดการรบที่ท่าดินแดง ฝีมือของ[[เหม เวชกร]] |
|||
⚫ | |||
|place = ท่าดินแดงและสามประสบ [[อำเภอสังขละบุรี]] [[จังหวัดกาญจนบุรี]] |
|place = ท่าดินแดงและสามประสบ [[อำเภอสังขละบุรี]] [[จังหวัดกาญจนบุรี]] |
||
|result = สยามได้ชัยชนะ |
|result = สยามได้ชัยชนะ |
||
|combatant1 = [[ไฟล์: |
|combatant1 = [[ไฟล์:Royal Standard of Konbaung Dynasty (1753-1885).svg|25px|border]] [[ราชวงศ์คองบอง|อาณาจักรพม่า]] |
||
|combatant2 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช)|อาณาจักรรัตนโกสินทร์]] |
|combatant2 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช)|อาณาจักรรัตนโกสินทร์]] |
||
|commander1 = [[ไฟล์: |
|commander1 = [[ไฟล์:Royal Standard of Konbaung Dynasty (1753-1885).svg|25px|border]] [[พระเจ้าปดุง]] <br> [[ไฟล์:Royal Standard of Konbaung Dynasty (1753-1885).svg|25px|border]] มหาอุปราช[[ตะโดเมงสอ]] <br> [[ไฟล์:Royal Standard of Konbaung Dynasty (1753-1885).svg|25px|border]] เมียนวุ่น <br> [[ไฟล์:Royal Standard of Konbaung Dynasty (1753-1885).svg|25px|border]] เมียนเมวุ่น |
||
|commander2 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]<br> |
|commander2 = [[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]<br> |
||
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] <br> |
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] <br> |
||
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์|กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข]] <br> |
[[ไฟล์:Flag of Thailand (1782).svg|20px|border]] [[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์|กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข]] <br> |
||
บรรทัด 18: | บรรทัด 22: | ||
}} |
}} |
||
'''สงครามท่าดินแดง''' เป็นสงครามระหว่างสยาม[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์]]และอาณาจักรพม่า[[ราชวงศ์โก้นบอง]] เป็นการรุกรานของพม่าครั้งที่สองในสมัยรัตนโกสินทร์และเป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องจากสงครามเก้าทัพ เกิดขึ้นหลังจากสงครามเก้าทัพหนึ่งปีในพ.ศ. 2329 หลังจากที่ฝ่ายพม่าซึ่งนำโดย[[พระเจ้าปดุง]]ปราชัยไปในสงครามเก้าทัพและถอยทัพกลับ ในปีต่อมาฝ่ายพม่าพระเจ้าปดุงทรงจัดทัพเข้ารุกรานสยามอีกครั้ง โดยเข้ามาทางเส้นทางเดียวคือทาง[[ด่านเจดีย์สามองค์]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก |
'''สงครามท่าดินแดง''' เป็นสงครามระหว่างสยาม[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์]]และอาณาจักรพม่า[[ราชวงศ์โก้นบอง]] เป็นการรุกรานของพม่าครั้งที่สองในสมัยรัตนโกสินทร์และเป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องจากสงครามเก้าทัพ เกิดขึ้นหลังจากสงครามเก้าทัพหนึ่งปีในพ.ศ. 2329 หลังจากที่ฝ่ายพม่าซึ่งนำโดย[[พระเจ้าปดุง]]ปราชัยไปในสงครามเก้าทัพและถอยทัพกลับ ในปีต่อมาฝ่ายพม่าพระเจ้าปดุงทรงจัดทัพเข้ารุกรานสยามอีกครั้ง โดยเข้ามาทางเส้นทางเดียวคือทาง[[ด่านเจดีย์สามองค์]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]และกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทเสด็จยกทัพไปสู้รบกับฝ่ายพม่าที่ท่าดินแดงและสามประสบ ([[อำเภอสังขละบุรี]] จังหวัดกาญจนบุรี) ได้รับชัยชนะสามารถต้านทานการรุกรานของพม่าได้สำเร็จ |
||
== เหตุการณ์นำ == |
== เหตุการณ์นำ == |
||
ในพ.ศ. 2328 หลังจากที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก |
ในพ.ศ. 2328 หลังจากที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ทรงสถาปนากรุงเทพฯเป็นราชธานีได้เพียงสามปี [[พระเจ้าปดุง]] (Badon Min) กษัตริย์พม่า[[ราชวงศ์โก้นบอง]]จัดทัพเข้ารุกรานอาณาจักรสยามจากหลายทิศทางทั้งหมดจำนวนเก้าทัพ โดยทัพขนาดใหญ่ที่สุดคือทัพหลวงของพระเจ้าปดุงยกมาทาง[[ด่านเจดีย์สามองค์]]เข้าโจมตีทางกาญจนบุรี โดยส่งแม่ทัพฝ่ายพม่าคือเมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นยกทัพหน้าเข้ามาก่อน [[กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท]]พร้อมทั้งพระยากลาโหมราชเสนา พระยาจ่าแสนยากร และ[[เจ้าพระยารัตนาพิพิธ (สน สนธิรัตน์)]] เสด็จยกทัพไปตั้งรับเมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นทางกาญจนบุรีที่ทุ่งลาดหญ้า (ตำบลลาดหญ้า [[อำเภอเมืองกาญจนบุรี|อำเภอเมือง]] [[จังหวัดกาญจนบุรี]]) นำไปสู่การรบที่ทุ่งลาดหญ้า การสู้รบใช้เวลาประมาณสองเดือน ฝ่ายพม่าประสบปัญหาขาดแคลนเสบียงทำให้ต้องปราชัยและถอยไปในที่สุด เมื่อทัพหน้าของเมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นพ่ายแพ้พระเจ้าปดุงจึงทรงถอยทัพกลับไปยังเมือง[[เมาะตะมะ]] ทัพของพม่าที่เข้ารุกรานทางราชบุรีก็ไม่ประสบผลเช่นกันต้องถอยกลับไปยังเมือง[[ทวาย]] |
||
ทางแหลมมลายูภาคใต้นั้น แกงหวุ่นแมงยีแม่ทัพพม่ายกทัพยึดได้เมือง[[ชุมพร]] เมือง[[อำเภอไชยา|ไชยา]] และเมือง[[นครศรีธรรมราช]] กรมพระราชวังบวรฯเสด็จยกทัพลงทางใต้ ทรงให้พระยากลาโหมราชเสนาและพระยาจ่าแสนยากรเอาชนะทัพพม่าได้ที่เมืองไชยา ทำให้แกงหวุ่นแมงยีต้องถอยทัพกลับไปอยู่ที่เมืองมะริดในเดือนมีนาคมพ.ศ. 2329 แม้ว่าการรุกรานของพม่าในสงครามเก้าทัพจะประสบกับความล้มเหลว แต่พระเจ้าปดุงทรงไม่ยอมแพ้ มีพระราชโองการให้ทัพของแกงหวุ่นแมงยีที่เมืองมะริดถอยไปอยู่เมืองทวาย เพื่อพักค้างในฤดูฝน<ref name=":0">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. '''พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ'''.</ref>เตรียมการสำหรับการรุกรานครั้งใหม่หลังจากฤดูฝนสิ้นสุดลง และให้ทัพเมืองทวายกลับไปอยู่ที่เมืองเมาะตะมะ ส่วนพระเจ้าปดุงนั้นยกทัพเสด็จกลับเมืองอังวะ |
ทางแหลมมลายูภาคใต้นั้น แกงหวุ่นแมงยีแม่ทัพพม่ายกทัพยึดได้เมือง[[ชุมพร]] เมือง[[อำเภอไชยา|ไชยา]] และเมือง[[นครศรีธรรมราช]] กรมพระราชวังบวรฯเสด็จยกทัพลงทางใต้ ทรงให้พระยากลาโหมราชเสนาและพระยาจ่าแสนยากรเอาชนะทัพพม่าได้ที่เมืองไชยา ทำให้แกงหวุ่นแมงยีต้องถอยทัพกลับไปอยู่ที่เมืองมะริดในเดือนมีนาคมพ.ศ. 2329 แม้ว่าการรุกรานของพม่าในสงครามเก้าทัพจะประสบกับความล้มเหลว แต่พระเจ้าปดุงทรงไม่ยอมแพ้ มีพระราชโองการให้ทัพของแกงหวุ่นแมงยีที่เมืองมะริดถอยไปอยู่เมืองทวาย เพื่อพักค้างในฤดูฝน<ref name=":0">[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา]]. '''พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธน ฯ แลกรุงเทพ ฯ'''.</ref>เตรียมการสำหรับการรุกรานครั้งใหม่หลังจากฤดูฝนสิ้นสุดลง และให้ทัพเมืองทวายกลับไปอยู่ที่เมืองเมาะตะมะ ส่วนพระเจ้าปดุงนั้นยกทัพเสด็จกลับเมืองอังวะ |
||
== การจัดเตรียมทัพ == |
== การจัดเตรียมทัพ == |
||
ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2329 พระเจ้าปดุงมีพระราชโองการให้พระโอรสคือเจ้าชายอินแซะ (Ainshe หรือ Einshay) มหาอุปราชยกทัพพม่าจำนวน 50,000 คน มาตั้งที่เมืองเมาะตะมะ กาารรุกรานของพม่าในครั้งนี้แตกต่างจากสงครามเก้าทัพในครั้งก่อนคือยกมาเพียงเส้นทางเดียว ที่เมืองเมาะตะมะเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชมีพระบัญชาให้เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่น สองแม่ทัพพม่าที่พ่ายแพ้ในการรบที่ทุ่งลาดหญ้าเมืองปีก่อนหน้า ยกทัพจำนวน 30,000 คน เป็นทัพหน้าเข้ามาก่อน เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นมาตั้งทัพที่ท่าดินแดงและสามประสบ ([[อำเภอสังขละบุรี]] จังหวัดกาญจนบุรี) โดยฝ่ายพม่าตั้งยุ้งฉางสำหรับเก็บเสบียงอย่างมากมายไว้ตลอดทางเดินทัพ<ref name=":1">[[เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)|ทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา]]. '''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑'''. พิมพ์ครั้งที่ ๖.</ref><ref name=":0" /> เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเสบียงในครั้งก่อนหน้า และสร้างสะพานข้ามแม้น้ำในทุกจุดข้าม หมายจะตั้งทัพอยู่เป็นแรมปี<ref name=":1" /><ref name=":0" /> ที่ท่าแดนแดงและสามประสบนั้น เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นให้ตั้งค่ายชักปีกกาขุดสนามเพลาะ ส่วนเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชยกทัพจำนวนที่เหลืออีก 20,000 คน มาตั้งที่แม่น้ำแม่กษัตริย์ |
ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2329 พระเจ้าปดุงมีพระราชโองการให้พระโอรสคือ[[ตะโดเมงสอ|เจ้าชายอินแซะ]] (Ainshe หรือ Einshay) มหาอุปราชยกทัพพม่าจำนวน 50,000 คน มาตั้งที่เมืองเมาะตะมะ กาารรุกรานของพม่าในครั้งนี้แตกต่างจากสงครามเก้าทัพในครั้งก่อนคือยกมาเพียงเส้นทางเดียว ที่เมืองเมาะตะมะเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชมีพระบัญชาให้เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่น สองแม่ทัพพม่าที่พ่ายแพ้ในการรบที่ทุ่งลาดหญ้าเมืองปีก่อนหน้า ยกทัพจำนวน 30,000 คน เป็นทัพหน้าเข้ามาก่อน เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นมาตั้งทัพที่ท่าดินแดงและสามประสบ ([[อำเภอสังขละบุรี]] จังหวัดกาญจนบุรี) โดยฝ่ายพม่าตั้งยุ้งฉางสำหรับเก็บเสบียงอย่างมากมายไว้ตลอดทางเดินทัพ<ref name=":1">[[เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)|ทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา]]. '''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑'''. พิมพ์ครั้งที่ ๖.</ref><ref name=":0" /> เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเสบียงในครั้งก่อนหน้า และสร้างสะพานข้ามแม้น้ำในทุกจุดข้าม หมายจะตั้งทัพอยู่เป็นแรมปี<ref name=":1" /><ref name=":0" /> ที่ท่าแดนแดงและสามประสบนั้น เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นให้ตั้งค่ายชักปีกกาขุดสนามเพลาะ ส่วนเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชยกทัพจำนวนที่เหลืออีก 20,000 คน มาตั้งที่แม่น้ำแม่กษัตริย์ |
||
กองลาดตระเวนเมืองไทรโยค เมืองศรีสวัสดิ์ และเมืองกาญจนบุรี พบทัพพม่ามาตั้งอยู่ที่ท่าดินแดงและสามประสบ จึงรายงานเข้าไปยังกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯโปรดฯให้จัดเตรียมทัพดังนี้; |
กองลาดตระเวนเมืองไทรโยค เมืองศรีสวัสดิ์ และเมืองกาญจนบุรี พบทัพพม่ามาตั้งอยู่ที่ท่าดินแดงและสามประสบ จึงรายงานเข้าไปยังกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯโปรดฯให้จัดเตรียมทัพดังนี้; |
||
* สมเด็จพระอนุชาธิราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พร้อมทั้งพระยากลาโหมราชเสนา พระยาจ่าแสนยากร และเจ้าพระยารัตนาพิพิธ (สน) สมุหนายก เสด็จยกทัพหน้าจำนวน 30,000 คน ล่วงหน้าไปก่อน |
* สมเด็จพระอนุชาธิราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พร้อมทั้งพระยากลาโหมราชเสนา พระยาจ่าแสนยากร และเจ้าพระยารัตนาพิพิธ (สน) สมุหนายก เสด็จยกทัพหน้าจำนวน 30,000 คน ล่วงหน้าไปก่อน |
||
* พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา |
* พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จยกทัพหลวงจำนวน 30,000 คน พร้อมทั้ง[[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์|กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข]] |
||
* ให้[[เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น)|พระยาพลเทพ (ปิ่น)]] เป็นผู้รักษาพระนครฯ |
* ให้[[เจ้าพระยาอภัยราชา (ปิ่น)|พระยาพลเทพ (ปิ่น)]] เป็นผู้รักษาพระนครฯ |
||
บรรทัด 40: | บรรทัด 44: | ||
== ผลลัพธ์ == |
== ผลลัพธ์ == |
||
[[ไฟล์:Three Pagodas.jpg|thumb|right|250px|"[[ด่านเจดีย์สามองค์]]" ณ [[อำเภอสังขละบุรี]] [[จังหวัดกาญจนบุรี]] เป็นช่องทางหลักของการเดินทัพของพม่า]] |
|||
สงครามท่าดินแดง นับเวลาตั้งแต่ยกทัพออกจากกรุงเทพฯไป ใช้ระยะเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งเดือน<ref name=":0" /> สามารถเอาชนะทัพฝ่ายพม่าได้ แม้ว่าฝ่ายพม่าพยายามแก้ไขปัญหาเรื่องความขาดแคลนเสบียงดังที่เกิดขึ้นในสงครามเก้าทัพครั้งก่อนแล้ว แต่ฝ่ายพม่ากลับไม่สามารถตั้งทัพอยู่ได้นานต้องถอยกลับไปในเวลาสั้น ฝ่ายสยามยกทัพไปพบกับทัพพม่าถึงเขตชายแดน<ref name=":0" /> ไม่ปล่อยให้ทัพพม่ายกล่วงเข้ามาถึงลาดหญ้าเหมือนครั้งก่อน หลังจากสงครามเก้าทัพและสงครามท่าดินแดงฝ่ายสยามกลับขึ้นเป็นฝ่ายรุกในฝั่งภาคตะวันตกนำไปสู่[[สงครามตีเมืองทวาย]] |
สงครามท่าดินแดง นับเวลาตั้งแต่ยกทัพออกจากกรุงเทพฯไป ใช้ระยะเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งเดือน<ref name=":0" /> สามารถเอาชนะทัพฝ่ายพม่าได้ แม้ว่าฝ่ายพม่าพยายามแก้ไขปัญหาเรื่องความขาดแคลนเสบียงดังที่เกิดขึ้นในสงครามเก้าทัพครั้งก่อนแล้ว แต่ฝ่ายพม่ากลับไม่สามารถตั้งทัพอยู่ได้นานต้องถอยกลับไปในเวลาสั้น ฝ่ายสยามยกทัพไปพบกับทัพพม่าถึงเขตชายแดน<ref name=":0" /> ไม่ปล่อยให้ทัพพม่ายกล่วงเข้ามาถึงลาดหญ้าเหมือนครั้งก่อน หลังจากสงครามเก้าทัพและสงครามท่าดินแดงฝ่ายสยามกลับขึ้นเป็นฝ่ายรุกในฝั่งภาคตะวันตกนำไปสู่[[สงครามตีเมืองทวาย]] |
||
== ดูเพิ่ม == |
== ดูเพิ่ม == |
||
บรรทัด 47: | บรรทัด 52: | ||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
||
<references /> |
<references /> |
||
{{รัตนโกสินทร์}} |
|||
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับไทย]] |
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับไทย]] |
||
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับ |
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับอาณาจักรรัตนโกสินทร์]] |
||
[[หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับราชวงศ์โก้นบอง]] |
|||
[[หมวดหมู่:ยุทธการในสงครามพม่า–สยาม]] |
[[หมวดหมู่:ยุทธการในสงครามพม่า–สยาม]] |
||
[[หมวดหมู่:ยุทธการเกี่ยวข้องกับไทย]] |
[[หมวดหมู่:ยุทธการเกี่ยวข้องกับไทย]] |
||
[[หมวดหมู่: |
[[หมวดหมู่:การบุกครองไทย]] |
||
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ของจังหวัดกาญจนบุรี]] |
|||
[[หมวดหมู่:สยามในคริสต์ทศวรรษ 1780]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:13, 9 เมษายน 2567
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
สงครามท่าดินแดง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามไทย-พม่า | |||||||
ภาพวาดการรบที่ท่าดินแดง ฝีมือของเหม เวชกร | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
อาณาจักรพม่า | อาณาจักรรัตนโกสินทร์ | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
พระเจ้าปดุง มหาอุปราชตะโดเมงสอ เมียนวุ่น เมียนเมวุ่น |
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช | ||||||
กำลัง | |||||||
36,000 | 30,000 |
สงครามท่าดินแดง เป็นสงครามระหว่างสยามอาณาจักรรัตนโกสินทร์และอาณาจักรพม่าราชวงศ์โก้นบอง เป็นการรุกรานของพม่าครั้งที่สองในสมัยรัตนโกสินทร์และเป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องจากสงครามเก้าทัพ เกิดขึ้นหลังจากสงครามเก้าทัพหนึ่งปีในพ.ศ. 2329 หลังจากที่ฝ่ายพม่าซึ่งนำโดยพระเจ้าปดุงปราชัยไปในสงครามเก้าทัพและถอยทัพกลับ ในปีต่อมาฝ่ายพม่าพระเจ้าปดุงทรงจัดทัพเข้ารุกรานสยามอีกครั้ง โดยเข้ามาทางเส้นทางเดียวคือทางด่านเจดีย์สามองค์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทเสด็จยกทัพไปสู้รบกับฝ่ายพม่าที่ท่าดินแดงและสามประสบ (อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี) ได้รับชัยชนะสามารถต้านทานการรุกรานของพม่าได้สำเร็จ
เหตุการณ์นำ
ในพ.ศ. 2328 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงเทพฯเป็นราชธานีได้เพียงสามปี พระเจ้าปดุง (Badon Min) กษัตริย์พม่าราชวงศ์โก้นบองจัดทัพเข้ารุกรานอาณาจักรสยามจากหลายทิศทางทั้งหมดจำนวนเก้าทัพ โดยทัพขนาดใหญ่ที่สุดคือทัพหลวงของพระเจ้าปดุงยกมาทางด่านเจดีย์สามองค์เข้าโจมตีทางกาญจนบุรี โดยส่งแม่ทัพฝ่ายพม่าคือเมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นยกทัพหน้าเข้ามาก่อน กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทพร้อมทั้งพระยากลาโหมราชเสนา พระยาจ่าแสนยากร และเจ้าพระยารัตนาพิพิธ (สน สนธิรัตน์) เสด็จยกทัพไปตั้งรับเมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นทางกาญจนบุรีที่ทุ่งลาดหญ้า (ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี) นำไปสู่การรบที่ทุ่งลาดหญ้า การสู้รบใช้เวลาประมาณสองเดือน ฝ่ายพม่าประสบปัญหาขาดแคลนเสบียงทำให้ต้องปราชัยและถอยไปในที่สุด เมื่อทัพหน้าของเมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นพ่ายแพ้พระเจ้าปดุงจึงทรงถอยทัพกลับไปยังเมืองเมาะตะมะ ทัพของพม่าที่เข้ารุกรานทางราชบุรีก็ไม่ประสบผลเช่นกันต้องถอยกลับไปยังเมืองทวาย
ทางแหลมมลายูภาคใต้นั้น แกงหวุ่นแมงยีแม่ทัพพม่ายกทัพยึดได้เมืองชุมพร เมืองไชยา และเมืองนครศรีธรรมราช กรมพระราชวังบวรฯเสด็จยกทัพลงทางใต้ ทรงให้พระยากลาโหมราชเสนาและพระยาจ่าแสนยากรเอาชนะทัพพม่าได้ที่เมืองไชยา ทำให้แกงหวุ่นแมงยีต้องถอยทัพกลับไปอยู่ที่เมืองมะริดในเดือนมีนาคมพ.ศ. 2329 แม้ว่าการรุกรานของพม่าในสงครามเก้าทัพจะประสบกับความล้มเหลว แต่พระเจ้าปดุงทรงไม่ยอมแพ้ มีพระราชโองการให้ทัพของแกงหวุ่นแมงยีที่เมืองมะริดถอยไปอยู่เมืองทวาย เพื่อพักค้างในฤดูฝน[1]เตรียมการสำหรับการรุกรานครั้งใหม่หลังจากฤดูฝนสิ้นสุดลง และให้ทัพเมืองทวายกลับไปอยู่ที่เมืองเมาะตะมะ ส่วนพระเจ้าปดุงนั้นยกทัพเสด็จกลับเมืองอังวะ
การจัดเตรียมทัพ
ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2329 พระเจ้าปดุงมีพระราชโองการให้พระโอรสคือเจ้าชายอินแซะ (Ainshe หรือ Einshay) มหาอุปราชยกทัพพม่าจำนวน 50,000 คน มาตั้งที่เมืองเมาะตะมะ กาารรุกรานของพม่าในครั้งนี้แตกต่างจากสงครามเก้าทัพในครั้งก่อนคือยกมาเพียงเส้นทางเดียว ที่เมืองเมาะตะมะเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชมีพระบัญชาให้เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่น สองแม่ทัพพม่าที่พ่ายแพ้ในการรบที่ทุ่งลาดหญ้าเมืองปีก่อนหน้า ยกทัพจำนวน 30,000 คน เป็นทัพหน้าเข้ามาก่อน เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นมาตั้งทัพที่ท่าดินแดงและสามประสบ (อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี) โดยฝ่ายพม่าตั้งยุ้งฉางสำหรับเก็บเสบียงอย่างมากมายไว้ตลอดทางเดินทัพ[2][1] เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเสบียงในครั้งก่อนหน้า และสร้างสะพานข้ามแม้น้ำในทุกจุดข้าม หมายจะตั้งทัพอยู่เป็นแรมปี[2][1] ที่ท่าแดนแดงและสามประสบนั้น เมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นให้ตั้งค่ายชักปีกกาขุดสนามเพลาะ ส่วนเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชยกทัพจำนวนที่เหลืออีก 20,000 คน มาตั้งที่แม่น้ำแม่กษัตริย์
กองลาดตระเวนเมืองไทรโยค เมืองศรีสวัสดิ์ และเมืองกาญจนบุรี พบทัพพม่ามาตั้งอยู่ที่ท่าดินแดงและสามประสบ จึงรายงานเข้าไปยังกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯโปรดฯให้จัดเตรียมทัพดังนี้;
- สมเด็จพระอนุชาธิราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พร้อมทั้งพระยากลาโหมราชเสนา พระยาจ่าแสนยากร และเจ้าพระยารัตนาพิพิธ (สน) สมุหนายก เสด็จยกทัพหน้าจำนวน 30,000 คน ล่วงหน้าไปก่อน
- พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จยกทัพหลวงจำนวน 30,000 คน พร้อมทั้งกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข
- ให้พระยาพลเทพ (ปิ่น) เป็นผู้รักษาพระนครฯ
การรบ
กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทเสด็จยกทัพจากกรุงเทพฯจำนวน 30,000 คน ทางชลมารคไปยังเมืองไทรโยคเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 3 ขึ้น 14 ค่ำ (วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2330) เมื่อถึงเมืองไทรโยคกรมพระราชวังบวรฯมีพระราชบัณฑูรให้พระยากลาโหมราชเสนา พระยาจ่าแสนยากร และเจ้าพระยารัตนาพิพิธ (สน) ยกทัพหน้าจำนวน 20,000 คน ล่วงหน้าไป พบกับทัพพม่าที่สามประสบ เพื่อโจมตีทัพพม่าให้พ่ายแพ้ไปตั้งแต่ที่ชายแดนโดยไม่ให้ทัพพม่าเข้าในเขตแดนดังเช่นในคราวก่อน[1] พระยากลาโหมราชเสนา พระยาจ่าแสนยากร และเจ้าพระยารัตนาพิพิธตั้งค่ายที่สามประสบ ทัพของกรมพระราชวังบวรฯตั้งห่างจากทัพหน้าลงมาเป็นระยะทาง 50 เส้น[2] พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯเสด็จยกทัพหลวงทางชลมารคถึงเมืองไทรโยค แล้วยกขึ้นเป็นทัพบกเสด็จไปตั้งทัพห่างจากทัพของกรมพระราชวังบวรฯลงมา 70 เส้น[2] จากนั้นมีพระราชโองการให้แม่ทัพนายกองทัพหลวงยกแยกออกไปตั้งประชิดกับทัพพม่าที่ท่าดินแดง
ในวันพุธ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 4 (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2330) ทัพฝ่ายไทยเข้าโจมตีทัพฝ่ายพม่าพร้อมกันทั้งทีท่าดินแดงและสามประสบ การสู้รบกินเวลาทั้งกลางวันและกลางคืนมีการยิ่งปืนใหญ่ใส่กันและกัน การสู้รบใช้เวลาประมาณสามวันจนกระทั่งในวันศุกร์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ทัพพม่าแตกพ่ายถอยร่นไป ฝ่ายเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชทรงทราบว่าทัพหน้าของเมียนวุ่นและเมียนเมวุ่นพ่ายแพ้ถอยมาแล้วจึงมีพระบัญชาให้ถอยทัพกลับไปยังเมืองเมาะตะมะเช่นกัน ทัพฝ่ายไทยยกติดตามไปสังหารทหารพม่าจำนวนและติดตามไปจนถึงแม่น้ำแม่กษัตริย์ซึ่งทัพของเจ้าชายอินแซะมหาอุปราชตั้งอยู่ จากนั้นมีพระราชโองการให้เผาทำลายยุ้งฉางที่เก็บเสบียงของพม่าจนหมดสิ้น แล้วจึงยกทัพกลับพระนคร
ผลลัพธ์
สงครามท่าดินแดง นับเวลาตั้งแต่ยกทัพออกจากกรุงเทพฯไป ใช้ระยะเวลาเพียงไม่ถึงหนึ่งเดือน[1] สามารถเอาชนะทัพฝ่ายพม่าได้ แม้ว่าฝ่ายพม่าพยายามแก้ไขปัญหาเรื่องความขาดแคลนเสบียงดังที่เกิดขึ้นในสงครามเก้าทัพครั้งก่อนแล้ว แต่ฝ่ายพม่ากลับไม่สามารถตั้งทัพอยู่ได้นานต้องถอยกลับไปในเวลาสั้น ฝ่ายสยามยกทัพไปพบกับทัพพม่าถึงเขตชายแดน[1] ไม่ปล่อยให้ทัพพม่ายกล่วงเข้ามาถึงลาดหญ้าเหมือนครั้งก่อน หลังจากสงครามเก้าทัพและสงครามท่าดินแดงฝ่ายสยามกลับขึ้นเป็นฝ่ายรุกในฝั่งภาคตะวันตกนำไปสู่สงครามตีเมืองทวาย