[go: nahoru, domu]

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตว์มีกระดูกสันหลัง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlleborgoBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ang:Hƿeorfdēor
Tropicalkitty (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 58.136.233.157 (talk) to last version by InternetArchiveBot
 
(ไม่แสดง 111 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 64 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ตารางจำแนกพันธุ์อัตโนมัติ
{{Taxobox
| color = pink
| name = สัตว์มีกระดูกสันหลัง
| name = สัตว์มีกระดูกสันหลัง
| fossil_range = <br>[[ยุคแคมเบรียน]] - [[สมัยโฮโลซีน|ปัจจุบัน]]<ref name = "Shu et al. 1999"/> {{fossil range|525|0|ref=<ref name="Peterson2008">{{cite journal | last1 = Peterson | first1 = Kevin J. | last2 = Cotton | first2 = James A. | last3 = Gehling | first3 = James G. | last4 = Pisani | first4 = Davide | date = 27 April 2008 | title = The Ediacaran emergence of bilaterians: congruence between the genetic and the geological fossil records | journal = Philosophical Transactions of the Royal Society B: Biological Sciences | volume = 363 | issue = 1496 | pages = 1435–1443 | doi = 10.1098/rstb.2007.2233 | pmid=18192191 | pmc=2614224 }}</ref>}}
| image = Panthera tigris.jpg
| image = File:Vertebrata_002.png
| image_caption = [[เสือ]] สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม <br> จัดอยู่ในประเภทสัตว์มีกระดูกสันหลัง
| image_width = 250px
| image_width = 220 px
| image_caption = ตัวอย่างของสัตว์มีกระดูกสันหลัง: [[เสือโคร่งไซบีเรีย]] ([[เทเทรอพอด]]), [[ปลาปอดออสเตรเลีย]] ([[ปลากระดูกแข็ง]]), [[ปลาฉลามเสือ]] ([[ปลากระดูกอ่อน]]) และ [[ปลาแลมป์เพรย์แม่น้ำยุโรป]] ([[ปลาไม่มีขากรรไกร]]).
| domin = [[Eukaryota]]
| regnum = [[Animal]]ia
| taxon = Vertebrata
| authority = [[Jean-Baptiste Lamarck|J-B. Lamarck]], 1801<ref name="Nielsen2012">{{cite journal
| phylum = [[สัตว์มีแกนสันหลัง|Chordata]]
| author=Nielsen, C.
| subphylum = '''Vertebrata'''
| date=July 2012
| subphylum_authority = [[Georges Cuvier|Cuvier]], 1812
| title=The authorship of higher chordate taxa
| subdivision_ranks = Classes and Clades
| journal=Zoologica Scripta
| subdivision =
| volume=41 | issue=4 | pages=435–436
* [[Agnatha]]
| doi=10.1111/j.1463-6409.2012.00536.x
** [[Cyclostomata]]
}}</ref>
** [[Ostracodermi]]
| subdivision_ranks = การจัดกลุ่มแบบย่อ
* [[Gnathostomata]]
| subdivision =
** [[Chondrichthyes]]
*[[ปลา]] (โดยรวม[[เททราพอด]])
** [[Actinopterygii]]
|synonyms = Ossea <small>Batsch, 1788</small><ref name="Nielsen2012" />
** [[Sarcopterygii]]
** [[Tetrapoda]]
*** [[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก|Amphibia]]
*** [[สัตว์เลื้อยคลาน|Reptilia]]
*** [[นก|Aves]]
*** [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม|Mammalia]]
}}
}}


'''สัตว์มีกระดูกสันหลัง''' ''(Vertebrate)'' สิ่งมีชีวิตประเภทนี้มี[[กระดูกสันหลัง]]หรือ[[ไขสันหลัง]] สิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังเริ่มมีวิวัฒนาการมาเป็นเวลาประมาณ 505 ล้านปี ในยุคแคมเบรียนกลาง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของช่วงยุคแคมเบรียน โครงกระดูกของไขสันหลัง ถูกเรียกว่ากระดูกสันหลัง ''Vertebrate'' เป็นไฟลัมย่อยที่ใหญ่ที่สุดใน [[สัตว์มีแกนสันหลัง|Chordates]] รวมทั้งยังมีสัตว์ที่คนรู้จักมากที่สุดอีกด้วย (ยกเว้น[[แมลง]]) [[ปลา]] [[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]] [[สัตว์เลื้อยคลาน]] [[นก]] และ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] (รวมทั้ง[[มนุษย์]])เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังทั้งสิ้น ลักษณะเฉพาะของไฟลัมย่อยนี้คือ[[ระบบของกล้ามเนื้อ]]จำนวนมาก เช่นเดียวกับ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]]ที่ถูกวางในกระดูกสันหลังเป็นส่วน ๆ
'''สัตว์มีกระดูกสันหลัง''' ({{lang-en|vertebrate}}) สิ่งมีชีวิตประเภทนี้มี[[กระดูกสันหลัง]]หรือ[[ไขสันหลัง]] สิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังเริ่มมีวิวัฒนาการมาเป็นเวลาประมาณ 505 ล้านปี ในยุคแคมเบรียนกลาง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของช่วงยุคแคมเบรียน โครงกระดูกของไขสันหลัง ถูกเรียกว่ากระดูกสันหลัง ''Vertebrate'' เป็นไฟลัมย่อยที่ใหญ่ที่สุดใน [[สัตว์มีแกนสันหลัง|Chordates]] รวมทั้งยังมีสัตว์ที่คนรู้จักมากที่สุดอีกด้วย (ยกเว้น[[แมลง]]) [[ปลา]] [[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]] [[สัตว์เลื้อยคลาน]] [[นก]] และ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] (รวมทั้ง[[มนุษย์]]) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังทั้งสิ้น ลักษณะเฉพาะของไฟลัมย่อยนี้คือ[[ระบบของกล้ามเนื้อ]]จำนวนมาก เช่นเดียวกับ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]]ที่ถูกวางในกระดูกสันหลังเป็นส่วน ๆ


สัตว์มีกระดูกสันหลัง คือกระดูกสันหลังจะอยู่เป็นแนวยาวไปตามด้านหลังของสัตว์ กระดูกสันหลังจะต่อกันเป็นข้อๆ ยืดหยุ่น เคลื่อนไหวได้มีหน้าที่ช่วยพยุงร่างกายให้เป็นรูปร่างทรวดทรงอยู่ได้และยังช่วยป้องกันเส้นประสาทอีกด้วย สัตว์พวกมีกระดูกสันหลัง [[นักวิทยาศาสตร์]]ยังแบ่งออกเป็น 5 พวกคือ
สัตว์มีกระดูกสันหลัง คือกระดูกสันหลังจะอยู่เป็นแนวยาวไปตามด้านหลังของสัตว์ กระดูกสันหลังจะต่อกันเป็นข้อ ๆ ยืดหยุ่น เคลื่อนไหวได้มีหน้าที่ช่วยพยุงร่างกายให้เป็นรูปร่างทรวดทรงอยู่ได้และยังช่วยป้องกันเส้นประสาทอีกด้วย สัตว์พวกมีกระดูกสันหลัง [[นักวิทยาศาสตร์]]ยังแบ่งออกเป็น 5 พวกคือ
* [[ปลา|สัตว์พวกปลา]]
* [[ปลา|สัตว์พวกปลา]]
* [[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]]
* [[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]]
* [[สัตว์เลื้อยคลาน]]
* [[สัตว์เลื้อยคลาน]]
* [[สัตว์ปีก]]
* [[สัตว์ปีก]]
* [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]
* [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม|สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]


== วิวัฒนาการ ==
== วิวัฒนาการ ==
จากหลักฐานทาง[[ธรณีวิทยา]]พบว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกแรกคือ[[ออสตราโคเดิร์ม]] (ostracoderm) ซึ่งเป็น[[ปลาไม่มีขากรรไกร]] ปัจจุบันสัตว์ในกลุ่มนี้ที่พบคือ[[ปลาปากกลม]] สัตว์มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ ที่พบในลำดับถัดมาคือ[[ปลามีขากรรไกร]]พวกแรก เรียกพลาโคเดิร์ม (placoderm) ซึ่งวิวัฒนาการต่อมาเป็น[[ปลากระดูกแข็ง]]และ[[ปลากระดูกอ่อน]]ในปัจจุบัน ต่อมาจึงเกิดสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตามลำดับ

จากหลักฐานทาง[[ธรณีวิทยา]]พบว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกแรกคือออสตราโคเดิร์ม (ostracoderm) ซึ่งเป็น[[ปลาไม่มีขากรรไกร]] ปัจจุบันสัตว์ในกลุ่มนี้ที่พบคือ[[ปลาปากกลม]] สัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆที่พบในลำดับถัดมาคือ[[ปลามีขากรรไกร]]พวกแรก เรียกพลาโคเดิร์ม (placoderm) ซึ่งวิวัฒนาการต่อมาเป็น[[ปลากระดูกแข็ง]]และ[[ปลากระดูกอ่อน]]ในปัจจุบัน ต่อมาจึงเกิดสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตามลำดับ



== การจัดจำแนก ==
== การจัดจำแนก ==
* [[ชั้นใหญ่พิสเซส]] ซึ่งเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่เป็นสัตว์น้ำหายใจด้วยเหงือก ที่เหงือกมีช่องให้น้ำผ่านเข้าออก อาจมีแผ่นแข็งปกคลุมหรือมีผิวหนังปิด มีครีบใช้เคลื่อนไหวและทรงตัว มีหัวใจ 2 ห้อง [[เส้นประสาทสมอง]] 10 คู่ ปกคลุมตัวด้วยหนังหรือเกล็ด แบ่งได้เป็น 3 ชั้นคือ
* [[ปลา|ชั้นใหญ่พิสเซส]] ซึ่งเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่เป็นสัตว์น้ำหายใจด้วยเหงือก ที่เหงือกมีช่องให้น้ำผ่านเข้าออก อาจมีแผ่นแข็งปกคลุมหรือมีผิวหนังปิด มีครีบใช้เคลื่อนไหวและทรงตัว มีหัวใจ 2 ห้อง [[เส้นประสาทสมอง]] 10 คู่ ปกคลุมตัวด้วยหนังหรือเกล็ด แบ่งได้เป็น 3 ชั้นคือ
** [[ชั้นอะแบทา]] ได้แก่ปลาปากกลม พบในเขตหนาว ไม่พบใน[[ประเทศไทย]]
** [[ปลาไม่มีขากรรไกร|ชั้นอะแบทา]] ได้แก่ปลาปากกลม พบในเขตหนาว ไม่พบใน[[ประเทศไทย]]
** [[ชั้นคอนดริกไทออส]] ได้แก่ปลากระดูกอ่อน โครงสร้างเป็นกระดูกอ่อนทั้งหมด เช่น[[ปลากระเบน]] [[ปลาฉลาม]] [[ปลาฉนาก]]
** [[ปลากระดูกอ่อน|ชั้นคอนดริกไทออส]] ได้แก่ปลากระดูกอ่อน โครงสร้างเป็นกระดูกอ่อนทั้งหมด เช่น [[ปลากระเบน]] [[ปลาฉลาม]] [[ปลาฉนาก]]
** [[ชั้นออกตีอิกไทออส]] ได้แก่ปลากระดูกแข็ง เช่น [[ปลามีปอด]] [[ปลาหมอเทศ]] [[ปลาดุก]]
** [[ปลากระดูกแข็ง|ชั้นออกตีอิกไทออส]] ได้แก่ปลากระดูกแข็ง เช่น [[ปลาปอด|ปลามีปอด]] [[ปลาหมอเทศ]] [[ปลาดุก]]
* [[ชั้นใหญ่เตราโปดา]] มีรยางค์ใช้ในการเคลื่อนไหว 2 คู่ [[หัวใจ]]มี 3 – 4 ห้อง หายใจด้วยปอด แบ่งได้เป็น 4 ชั้นคือ
* [[Tetrapoda|ชั้นใหญ่เตราโปดา]] มีรยางค์ใช้ในการเคลื่อนไหว 2 คู่ [[หัวใจ]]มี 3 – 4 ห้อง หายใจด้วยปอด แบ่งได้เป็น 4 ชั้นคือ
** [[ชั้นแอมฟิเบีย]] ได้แก่สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น [[กบ]] [[คางคก]] [[เขียด]] [[ปาด]][[อึ่งอ่าง]] [[งูดิน]]
** [[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ|ชั้นแอมฟิเบีย]] ได้แก่สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น [[กบ]] [[คางคก]] [[เขียด]] [[ปาด]] [[อึ่งอ่าง]] [[ซาลาแมนเดอร์]]
** [[ชั้นเรปทิเลีย]] ได้แก่สัตว์เลื้อยคลาน เช่น[[ ตะพาบน้ำ]] [[ตุ๊กแก]] [[กิ้งก่า]] [[จิ้งเหลน]] [[งู]] [[จระเข้]]
** [[สัตว์เลื้อยคลาน|ชั้นเรปทิเลีย]] ได้แก่สัตว์เลื้อยคลาน เช่น [[เต่า]] [[ตะพาบน้ำ]] [[ตุ๊กแก]] [[กิ้งก่า]] [[จิ้งเหลน]] [[งู]] [[จระเข้]]
** [[ชั้นเอวีส]] ได้แก่สัตว์ปีก พวกนกต่างๆ
** [[สัตว์ปีก|ชั้นเอวีส]] ได้แก่สัตว์ปีก พวกนกต่าง
** [[ชั้นแมมมาเลีย]] ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แบ่งได้อีกเป็น 2 ชั้นยอย คือ
** [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม|ชั้นแมมมาเลีย]] ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แบ่งได้อีกเป็น 2 ชั้นยอย คือ
*** [[ชั้นย่อยโปรโตเทเรีย]] ออกลูกเป็นไข่ ได้แก่ [[ตุ่นปากเป็ด]]และ[[ตัวกินมด]]
*** [[โมโนทรีม|ชั้นย่อยโปรโตเทเรีย]] ออกลูกเป็นไข่ ได้แก่ [[ตุ่นปากเป็ด]]และ[[อีคิดนา]]
*** [[ชั้นย่อยเทเรีย]] ออกลูกเป็นตัว ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เหลือเช่น [[จิงโจ้]] [[ค้างคาว]] [[นิ่มเกล็ด]] [[กระต่าย]] [[กระรอก]] [[โลมา]]
*** [[ชั้นย่อยเทเรีย]] ออกลูกเป็นตัว ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เหลือเช่น [[จิงโจ้]] [[ค้างคาว]] [[นิ่มเกล็ด]] [[กระต่าย]] [[กระรอก]] [[โลมา]]


== อ้างอิง ==
{{wikispecies|Vertebrata}}
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Wikispecies|Vertebrata}}
* [http://tolweb.org/Vertebrata/14829 Tree of Life] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20210422054842/http://tolweb.org/Vertebrata/14829 |date=2021-04-22 }}
* [http://www.nature.com/nature/journal/v439/n7079/abs/nature04336.html Tunicates and not cephalochordates are the closest living relatives of vertebrates]
*[http://entomology.ifas.ufl.edu/fasulo/vector/chapter_07.htm Vertebrate Pests] chapter in [[United States Environmental Protection Agency]] and [[University of Florida]]/[[Institute of Food and Agricultural Sciences]] National Public Health Pesticide Applicator Training Manual
* [http://logic-law.com/index.php?title=Subphylum_Vertebrata The Vertebrates]
* [http://www.ibiology.org/ibioseminars/evolution-ecology/marc-w-kirschner-part-1.html The Origin of Vertebrates] [[Marc W. Kirschner]], ''iBioSeminars'', 2008.


[[หมวดหมู่:สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์มีกระดูกสันหลัง]]
{{โครงสัตว์}}

[[ang:Hƿeorfdēor]]
[[ar:فقاريات]]
[[az:Onurğalılar]]
[[bat-smg:Stoborėnē]]
[[bg:Гръбначни]]
[[br:Vertebrata]]
[[bs:Kičmenjaci]]
[[ca:Vertebrat]]
[[cs:Obratlovci]]
[[cy:Fertebrat]]
[[da:Hvirveldyr]]
[[de:Wirbeltiere]]
[[el:Σπονδυλωτό]]
[[en:Vertebrate]]
[[eo:Vertebruloj]]
[[es:Vertebrata]]
[[et:Selgroogsed]]
[[eu:Ornodun]]
[[fa:مهره‌داران]]
[[fi:Selkärankaiset]]
[[fr:Vertébrés]]
[[fy:Wringedier]]
[[ga:Veirteabrach]]
[[gl:Vertebrata]]
[[gv:Vertebrata]]
[[he:בעלי חוליות]]
[[hr:Kralježnjaci]]
[[hu:Gerincesek]]
[[ia:Vertebrato]]
[[id:Vertebrata]]
[[is:Hryggdýr]]
[[it:Vertebrata]]
[[ja:脊椎動物]]
[[jv:Vertebrata]]
[[ka:ხერხემლიანები]]
[[ko:척추동물]]
[[ku:Movikdar]]
[[la:Vertebrata]]
[[lb:Wierbeldéieren]]
[[li:Gewervelde diere]]
[[lij:Vertebræ]]
[[ln:Nyama ya mikúwa]]
[[lt:Stuburiniai]]
[[lv:Mugurkaulnieki]]
[[mk:‘Рбетници]]
[[ml:നട്ടെല്ലുള്ള ജീവികള്‍]]
[[mr:पृष्ठवंशी प्राणी]]
[[ms:Vertebrat]]
[[nl:Gewervelden]]
[[nn:Virveldyr]]
[[no:Virveldyr]]
[[oc:Vertebrata]]
[[pl:Kręgowce]]
[[pt:Vertebrados]]
[[qu:Tulluyuq]]
[[ro:Vertebrata]]
[[ru:Позвоночные]]
[[scn:Vertebrata]]
[[simple:Vertebrate]]
[[sk:Stavovce]]
[[sl:Vretenčarji]]
[[sr:Кичмењаци]]
[[su:Vertebrata]]
[[sv:Ryggradsdjur]]
[[szl:Kryngowce]]
[[ta:முதுகெலும்பிகள்]]
[[te:సకశేరుకాలు]]
[[tl:Vertebrata]]
[[tr:Omurgalılar]]
[[uk:Хребетні]]
[[ur:فقاری جاندار]]
[[vi:Động vật có xương sống]]
[[wa:Cronzoxhî]]
[[yi:ווערטייברעיטס]]
[[zh:脊椎动物]]
[[zh-min-nan:Chek-chui tōng-bu̍t]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:43, 19 มกราคม 2567

สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่:
ยุคแคมเบรียน - ปัจจุบัน[1] 525–0Ma[2]
ตัวอย่างของสัตว์มีกระดูกสันหลัง: เสือโคร่งไซบีเรีย (เทเทรอพอด), ปลาปอดออสเตรเลีย (ปลากระดูกแข็ง), ปลาฉลามเสือ (ปลากระดูกอ่อน) และ ปลาแลมป์เพรย์แม่น้ำยุโรป (ปลาไม่มีขากรรไกร).
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอต
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
เคลด: โอลแฟกทรีส
ไฟลัมย่อย: สัตว์มีกระดูกสันหลัง
J-B. Lamarck, 1801[3]
การจัดกลุ่มแบบย่อ
ชื่อพ้อง

Ossea Batsch, 1788[3]

สัตว์มีกระดูกสันหลัง (อังกฤษ: vertebrate) สิ่งมีชีวิตประเภทนี้มีกระดูกสันหลังหรือไขสันหลัง สิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังเริ่มมีวิวัฒนาการมาเป็นเวลาประมาณ 505 ล้านปี ในยุคแคมเบรียนกลาง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของช่วงยุคแคมเบรียน โครงกระดูกของไขสันหลัง ถูกเรียกว่ากระดูกสันหลัง Vertebrate เป็นไฟลัมย่อยที่ใหญ่ที่สุดใน Chordates รวมทั้งยังมีสัตว์ที่คนรู้จักมากที่สุดอีกด้วย (ยกเว้นแมลง) ปลา สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (รวมทั้งมนุษย์) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกระดูกสันหลังทั้งสิ้น ลักษณะเฉพาะของไฟลัมย่อยนี้คือระบบของกล้ามเนื้อจำนวนมาก เช่นเดียวกับระบบประสาทส่วนกลางที่ถูกวางในกระดูกสันหลังเป็นส่วน ๆ

สัตว์มีกระดูกสันหลัง คือกระดูกสันหลังจะอยู่เป็นแนวยาวไปตามด้านหลังของสัตว์ กระดูกสันหลังจะต่อกันเป็นข้อ ๆ ยืดหยุ่น เคลื่อนไหวได้มีหน้าที่ช่วยพยุงร่างกายให้เป็นรูปร่างทรวดทรงอยู่ได้และยังช่วยป้องกันเส้นประสาทอีกด้วย สัตว์พวกมีกระดูกสันหลัง นักวิทยาศาสตร์ยังแบ่งออกเป็น 5 พวกคือ

วิวัฒนาการ[แก้]

จากหลักฐานทางธรณีวิทยาพบว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกแรกคือออสตราโคเดิร์ม (ostracoderm) ซึ่งเป็นปลาไม่มีขากรรไกร ปัจจุบันสัตว์ในกลุ่มนี้ที่พบคือปลาปากกลม สัตว์มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ ที่พบในลำดับถัดมาคือปลามีขากรรไกรพวกแรก เรียกพลาโคเดิร์ม (placoderm) ซึ่งวิวัฒนาการต่อมาเป็นปลากระดูกแข็งและปลากระดูกอ่อนในปัจจุบัน ต่อมาจึงเกิดสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตามลำดับ

การจัดจำแนก[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Shu et al. 1999
  2. Peterson, Kevin J.; Cotton, James A.; Gehling, James G.; Pisani, Davide (27 April 2008). "The Ediacaran emergence of bilaterians: congruence between the genetic and the geological fossil records". Philosophical Transactions of the Royal Society B: Biological Sciences. 363 (1496): 1435–1443. doi:10.1098/rstb.2007.2233. PMC 2614224. PMID 18192191.
  3. 3.0 3.1 Nielsen, C. (July 2012). "The authorship of higher chordate taxa". Zoologica Scripta. 41 (4): 435–436. doi:10.1111/j.1463-6409.2012.00536.x.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]