ผักกาดช้าง
หน้าตา
ผักกาดช้าง | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Eudicots |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Asterids |
อันดับ: | Asterales |
วงศ์: | Asteraceae |
เผ่า: | Senecioneae |
สกุล: | Crassocephalum |
สปีชีส์: | C. crepidioides |
ชื่อทวินาม | |
Crassocephalum crepidioides (Benth.) S. Moore | |
ชื่อพ้อง | |
Gynura crepidioides Benth. |
หญ้าคออ่อนหรือผักกาดช้าง ชื่อวิทยาศาสตร์: Crassocephalum crepidioides ภาษากะเหรี่ยงเรียกหน่อบออึ เป็นพืชล้มลุก ลำต้นอวบน้ำ มีขนปกคลุมเล็กน้อย ใบเดี่ยว ผิวใบค่อนข้างเกลี้ยง ท้องใบมีขนเล็กน้อย ดอกช่อแบบกระจุกแน่น มีเกล็ดสีขาวปกคลุมบริเวณก้านช่อดอก ใบและต้นนำไปต้มใช้เป็นอาหารเลี้ยงหมู มีสารที่เป็นพิษต่อตับและก่อเนื้องอก[1] ยอดอ่อนนำมาทำอาหารได้[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Fu, P.P., Yang, Y.C., Xia, Q., Chou, M.C., Cui, Y.Y., Lin G., "Pyrrolizidine alkaloids-tumorigenic components in Chinese herbal medicines and dietary supplements", Journal of Food and Drug Analysis, Vol. 10, No. 4, 2002, pp. 198-211[1]
- ↑ ป่าแม่คำมี: ความหลากหลายทางชีวภาพจากอดีตถึงปัจจุบัน. กทม. สำนักวิจัยและพัฒนาป่าไม้. 2556
- ขวัญฤทัย คำฝาเชื้อ 2551 พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง ที่ตำบลบ้านจันทร์และแจ่มหลวง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่271 หน้า ดูฉบับเต็ม เก็บถาวร 2021-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน