[go: nahoru, domu]

ข้ามไปเนื้อหา

รัฐสภาสมาพันธรัฐ

พิกัด: 37°32′19.5″N 77°26′00.9″W / 37.538750°N 77.433583°W / 37.538750; -77.433583
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐสภาสมาพันธรัฐ

Confederate States Congress
ภาพเขียนวอชิงตันขี่ม้า (ตามอนุสาวรีย์วอชิงตันซึ่งตั้งอยู่ด้านหน้าของอาคารรัฐสภาที่ริชมอนด์) โดยรายล้อมด้วยหรีดซึ่งประกอบด้วยผลิตผลทางการเกษตรหลักของสมาพันธรัฐ ได้แก่ คอตตอน ยาสูบ อ้อย ข้าวโพด ข้าวสาลี และข้าว และรอบนอกมีเป็นชื่อของสมาพันธรัฐเป็นภาษาอังกฤษตามด้วยปีที่ก่อตั้งขึ้น "The Confederate States of America, twenty-second February, eighteen hundred and sixty-two" ตามด้วยคติพจน์ของสมาพันธรัฐในภาษาลาติน "Deo vindice"
ประเภท
ประเภท
องค์ประกอบวุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎร
ประวัติ
ก่อตั้ง18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1862 (1862-02-18)
ยุบ18 มีนาคม ค.ศ. 1865 (1865-03-18) (โดยพฤตินัย)
ก่อนหน้ารัฐสภาเฉพาะกาลแห่งสมาพันธรัฐ
ผู้บริหาร
ประธานวุฒิสภารักษาการ
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ประธานสภาผู้แทนราษฎรชั่วคราว
สมาชิก135 คน
วุฒิสภา 26 คน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 109 คน
ที่ประชุม
Second Capitol of the Confederate States (1861–1865)
ที่ทำการสภาเวอร์จิเนีย
ริชมอนด์, เวอร์จิเนีย
สมาพันธรัฐอเมริกา
รัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งสมาพันธรัฐ

รัฐสภาสมาพันธรัฐ(อังกฤษ: Confederate States Congress) เป็นทั้งรัฐสภาเฉพาะกาลและสภานิติบัญญัติแห่งสมาพันธรัฐอเมริกาในช่วงปีค.ศ. 1861-1865 โดยวัตถุประสงค์หลักคือเพื่อจัดตั้งรัฐบาลสำหรับการปฏิวัติโดยกลุ่มรัฐทางใต้ และเพื่อบริหารจัดการสงครามตลอดอายุของสมาพันธรัฐ โดยมีที่ประชุมอยู่ที่มอนต์กอเมอรี (รัฐแอละแบมา) และริชมอนด์ (รัฐเวอร์จิเนีย)

ก่อนหน้าการจัดตั้งเป็นรัฐสภาเต็มรูปนั้นเคยถูกเรียกว่ารัฐสภาเฉพาะกาลแห่งสมาพันธรัฐซึ่งมีบทบาทหลักในการจัดตั้งสมาพันธรัฐขึ้นเป็นประเทศ โดยต่อมามีการเลือกตั้งภายในรัฐ อาณานิคม และค่ายทหารต่างๆ เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1861 โดยมีสภาเพียงสองสมัยเท่านั้น ซึ่งสมัยที่สองได้เริ่มขึ้นก่อนการสิ้นสุดลงของสมาพันธรัฐในปีค.ศ. 1865

การนิติบัญญัติทั้งหมดของสมาพันธรัฐนั้นมีความสำคัญเป็นรองจากการพยายามเอาชนะในสงครามกลางเมืองอเมริกา[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Yearns, Wilfred Buck. The Confederate Congress, (1935, 2010) ISBN 978-0-820-33476-9, p. vii-viii.

37°32′19.5″N 77°26′00.9″W / 37.538750°N 77.433583°W / 37.538750; -77.433583